บทที่ 3 การสื่อสารการตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทเรียนโปรแกรม Power Point
Advertisements

รหัส หลักการตลาด.
การกระทำทางสังคม (Social action)
บทที่ 9 อิทธิพลของกลุ่มกับการบริโภค
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
การบริหารความสัมพันธ์และการฟื้นฟูความพอใจ จากบริการที่ผิดพลาด
หน่วยเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
บทบาทผู้นำสหกรณ์ยุคใหม่ ผู้อำนวยการสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา
Priciples of Marketing
Lesson 2 Strategic Planning and The marketing Process &Market Segmentation,Targeting, and Positioning for Competitive Advantage.
หลักการตลาด บทที่ 13 การส่งเสริมการตลาด.
MK201 Principles of Marketing
ระบบการบริหารการตลาด
MK201 Principles of Marketing
หลักการตลาด บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค.
การบริโภคอย่างอย่างสร้างสรรค์ รู้เท่าทัน และการใช้เวลาว่าง
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
บทที่ 6 พฤติกรรมผู้บริโภค.
วิชาชีพและจริยธรรมทางการตลาด
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
พฤติกรรมผู้บริโภคกับการสื่อสารการตลาด
เรียนรู้ลูกค้า – เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
บทที่ 4 กระบวนการตัดสินใจ
บทที่ 2 กระบวนการทางจิตวิทยาของผู้ใช้
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
( Organization Behaviors )
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค
ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
(Organizational Behaviors)
(Individual and Organizational)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
วิชา หลักการตลาด บทที่ 12 จริยธรรมทางการตลาด และความรับผิดชอบต่อสังคม
บทที่ 17 อิทธิพลของสถานการณ์
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ที่มา: Causal Process in Criminality in Don C
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
Chapter V โมเดลการตัดสินใจของผู้บริโภค
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
สื่อโทรทัศน์กับ การรับรู้ของเด็ก
บทที่ 16 ครอบครัว.
บทที่ 4 ส่วนประสมการตลาด
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
บทที่ 2 ทฤษฎีการสื่อสาร
ทฤษฎีและเทคนิคการขาย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
บทที่ 7 การส่งเสริมการขาย
การออกแบบ DESIGN. การออกแบบ (Design) หมายถึง การถ่ายทอดรูปแบบจาก ความคิดออกมาเป็นผลงาน ที่ผู้อื่น สามารถมองเห็น รับรู้ หรือสัมผัสได้ เพื่อให้มีความเข้าใจในผลงานร่วมกัน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การสื่อสารการตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค บทที่ 3 การสื่อสารการตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค ความหมายพฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค (consumer behavior) หมายถึง กระบวนการและกิจกรรมต่าง ๆ ที่บุคคลเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องใน การเสาะแสวงหา การเลือก การซื้อ การได้ การประเมินผล และ การใช้สอยผลิตภัณฑ์และบริการเพื่อสนองความต้องการ และ ความปรารถนาอยากได้ให้ได้รับความพอใจ (Belch and Belch, 1993)

consumer behavior is the process involved when individuals or group select, purchase, use, or dispose of products, services, ideas, or experiences to satisfy needs and desires. (Solomon, 2007)

consumer behavior is the behavior that consumer display in searching for, purchase, using, evaluating, and disposing for product, service, and ideas. (Schiffman & Kanuk, 2007)

ประโยชน์ทางการตลาดจากความเข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค 1 ประโยชน์ทางการตลาดจากความเข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค 1. ลดความสิ้นเปลืองให้น้อยลง 2. เพื่อประสิทธิผลให้มากขึ้น 3. กระชับความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อผู้ขายแน่นแฟ้น ยิ่งขึ้น

กระบวนการตัดสินใจซื้อ ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค 1. ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภคของ Kotler & Armstrong (1997) ลักษณะของผู้ซื้อ กระบวนการตัดสินใจซื้อ ผลิตภัณฑ์ ตราสินค้า ผู้ขาย เวลาซื้อ จำนวนซื้อ 4 Ps สิ่งเร้าด้านการตลาด และอื่น ๆ การ ตอบสนอง กล่องดำ เศรษฐกิจ เทคโนโลยี การเมือง วัฒนธรรม รับรู้ความจำเป็น แสวงหาข้อมูล ประเมินทางเลือก พฤติกรรมหลังการซื้อ ตัดสินใจซื้อ

(1992) 2. ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภคของ Lamb, Hair & McDanial สิ่งเร้า ปัจจัยด้านปัจเจกบุคคล การรับรู้ การจูงใจ การเรียนรู้ ความเชื่อ ทัศนคติ บุคลิกภาพ แนวคิดเกี่ยวกับตนเอง รูปแบบการดำเนินชีวิต รับรู้ปัญหา แสวงหาข้อมูล ปัจจัยด้านปัจเจกชน และปัจจัยด้านสังคม ประเมินทางเลือก ปัจจัยด้านสังคม กลุ่มอ้างอิง กลุ่มผู้นำทางความคิด ครอบครัว วงจรชีวิต ชั้นทางสังคม วัฒนธรรมและวัฒนธรรมย่อย ซื้อ ผลการซื้อ พฤติกรรมหลังการซื้อ

กระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค 1. การรับรู้สิ่งเร้า (stimulus) 1.1 สิ่งเร้าจากสังคม 1.2 สิ่งเร้าจากการโฆษณา 1.3 สิ่งเร้าที่ไม่ใช่การโฆษณา 1.4 สิ่งเร้าที่เกิดจากแรงขับภายในร่างกาย 2. การรับรู้ปัญหา (problem recognition) 3. การแสวงหาข้อมูล (information search) 3.1 แหล่งบุคคล 3.2 แหล่งโฆษณา 3.3 แหล่งสาธารณะ 3.4 แหล่งประสบการณ์

กระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค 4. การประเมินทางเลือก (evaluation of alternatives) 5. การซื้อ (purchase) 6. พฤติกรรมหลังการซื้อ (post-purchase behavior)

รูปแบบพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค 1. พฤติกรรมการซื้อตามปกติ 2. พฤติกรรมการซื้อที่ต้องแก้ไขปัญหาบางอย่าง 3. พฤติกรรมการซื้อที่ต้องแก้ไขปัญหาอย่างมาก

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค ปัจจัยด้านปัจเจกบุคคล การรับรู้ การจูงใจ การเรียนรู้ ความเชื่อ ทัศนคติ บุคลิกภาพ แนวคิดเกี่ยวกับตนเอง รูปแบบการดำเนินชีวิต ปัจจัยด้านสังคม กลุ่มอ้างอิง กลุ่มผู้นำทางความคิด ครอบครัว วงจรชีวิต ชั้นทางสังคม วัฒนธรรมและวัฒนธรรมย่อย พฤติกรรม

การรับรู้ 1. การเลือกเปิดรับ 2. การเลือกสนใจ 3. การเลือกตีความเข้าใจ 4 การรับรู้ 1. การเลือกเปิดรับ 2. การเลือกสนใจ 3. การเลือกตีความเข้าใจ 4. การเลือกจดจำ

ลำดับขั้นความต้องการของผู้บริโภค ลำดับขั้นความต้องการของผู้บริโภคตามแนวความคิดของ McCarthy & Perreault) 1. ความต้องการทางด้านสรีรวิทยา (P: physiological needs) 2. ความต้องการความปลอดภัย (S: safety needs) 3. ความต้องการทางสังคม (S: social needs) 4. ความต้องการส่วนบุคคล (P: personal needs)

1. การเรียนรู้จากพฤติกรรมหรือการกระทำ 2. การเรียนรู้จากการคิดอย่างมีเหตุผล 3. การเลือกตีความเข้าใจ องค์ประกอบของทัศนคติ 1. องค์ประกอบทางด้านความรู้ความเข้าใจ 2. องค์ประกอบทางด้านความรู้สึก 3. องค์ประกอบทางด้านพฤติกรรม

วงจรชีวิตครอบครัว 1. ขั้นเป็นโสด 2. ขั้นคู่สมรสเพิ่งแต่งงาน 3. ขั้นครอบครัวมีลูกเป็นเด็กเล็ก 4. ขั้นครอบครัวมีลูกเป็นเด็กโต 5. ขั้นครอบครัวมีลูกเป็นวัยรุ่น 6. ขั้นครอบครัวเปล่าเปลี่ยวระยะที่ 1 7. ขั้นครอบครัวเปล่าเปลี่ยวระยะที่ 2 8. ขั้นครอบครัวเดียวดายระยะที่ 1 9. ขั้นครอบครัวเดียวดายระยะที่ 2

จบการบรรยาย