การเก็บตัวอย่างอาหาร (สำหรับงานตรวจสอบ) กรณีร้องเรียน, กรณีพิเศษ, กรณีเร่งด่วน จากสถานที่ผลิตอาหาร, จำหน่ายอาหาร, นำเข้า กลุ่มกำกับดูแลหลังออกสู่ตลาด สำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
หัวข้อบรรยาย ความสำคัญ กิจกรรมการเก็บตัวอย่าง ขั้นตอนการเก็บตัวอย่างอาหาร 1. เตรียมตัวก่อนออกเก็บตัวอย่าง 2. ขณะการเก็บตัวอย่าง 3. หลังการเก็บตัวอย่าง 4. ข้อควรระวัง
ความสำคัญ เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพมาตรฐานและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหารที่ผลิตและจำหน่ายในประเทศ และนำเข้าจากต่างประเทศ เพื่อให้ได้ข้อมูลสถานการณ์ความปลอดภัยของอาหารที่จะนำมาใช้กำหนดมาตระการกำกับดูแลหลังออกสู่ตลาดที่เหมาะสม
ความสำคัญ (ต่อ) เพื่อนำมาใช้ประกอบการพิจารณาคดี ตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 เป็นข้อมูลการดำเนินงานเชิงสำรวจเพื่อใช้เป็นส่วนสนับสนุนการพัฒนากฎหมาย
กิจกรรมการเก็บตัวอย่าง กรณีเฝ้าระวัง กรณีร้องเรียน กรณีพิเศษ
ขั้นตอนการเก็บตัวอย่างอาหาร
1. การเตรียมการก่อนเก็บตัวอย่าง 1.1 เตรียมตัว - ศึกษาข้อมูลอ้างอิง พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 1) ประกาศสาธารณสุข 2) แผนเฝ้าระวังประจำปี - นำเข้า - ผลิต 3) ประเด็นที่ต้องศึกษา (เฝ้าระวัง , ร้องเรียน , พิเศษ) 4) ฐานข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข (Logistic)
1. การเตรียมการก่อนเก็บตัวอย่าง (ต่อ) 1.2 อุปกรณ์ - ถุงพลาสติก - เทปกาว - ปากกาเมจิก(ไม่ลบเลือน) - สติ๊กเกอร์ระบุรายละเอียดอาหาร - กล่องโฟม(อาหารที่ต้องคงความเย็นไว้) - ไอซ์แพ็ค (อาหารที่ต้องคงความเย็นไว้)
1. การเตรียมการก่อนเก็บตัวอย่าง (ต่อ) 1.3 เอกสาร - แผนการเก็บตัวอย่างประจำปี - ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับต่างๆ (พรบ.อาหาร) - บันทึกการเก็บตัวอย่างอาหาร - บันทึกการส่งอาหารวิเคราะห์ (ก่อนหนังสือนำส่ง)
2. ขณะเก็บตัวอย่าง ตรวจประเภทผลิตภัณฑ์/ชนิดสินค้า ว่าถูกต้องตามประกาศฯ ตรวจดูฉลากว่าถูกต้องตามประกาศเรื่องฉลากและตรงตามที่มาของเลขผลิตภัณฑ์(สบ5.)
หลักการเขียนบันทึกเก็บตัวอย่างอาหาร ส่วนที่1 รายละเอียดสถานที่เก็บ เขียนที่ วันเดือนปี เวลา ใครเป็นผู้เก็บ (เจ้าหน้าที่ ) ชื่อผู้ประกอบการ ตามใบอนุญาต ชื่อสถานที่เก็บ (สถานที่ผลิต,นำเข้า) ส่วนที่2 รายละเอียดผลิตภัณฑ์ (ระบุตามฉลาก) ชื่อผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ เลขสารบบอาหาร ผู้ผลิต ผู้นำเข้า จำหน่าย ส่วนประกอบ วันหมดอายุ รุ่นล๊อต น้ำหนัก จำนวน รวม วิเคราะห์หา ส่วนที่3 เซ็นชื่อ เจ้าหน้า ผู้ประกอบ
หลักการเขียนบันทึกนำส่งอาหารวิเคราะห์ ส่วนที่1 รายละเอียดสถานที่เก็บ เขียนที่ วันเดือนปี เวลา ใครเป็นผู้เก็บ (เจ้าหน้าที่ ) ชื่อผู้ประกอบการ ตามใบอนุญาต ชื่อสถานที่เก็บ (สถานที่ผลิต,นำเข้า) ส่วนที่2 รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ชื่อผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ เลขสารบบอาหาร - ผู้ผลิต ผู้นำเข้า จำหน่าย – ส่วนประกอบ – วันหมดอายุ – รุ่นล๊อต - น้ำหนัก จำนวน รวม วิเคราะห์หา
การบรรจุ, แพ็ค 1 ใส่ถุง 2 มัดปากถุงด้วยเทปกาว
3 เหลือปลายเทปกาวไว้ลงชื่อ 4 ติดสติ๊กเกอร์รายละเอียดอาหาร บรรจุ, แพ็ค(ต่อ) 3 เหลือปลายเทปกาวไว้ลงชื่อ 4 ติดสติ๊กเกอร์รายละเอียดอาหาร
ผู้ประกอบการลงชื่อ, วันเดือนปี กำกับ
บรรจุในลังโฟมและไอซ์แพ็ค กรณีอาหารต้องคงความเย็นไว้
ตัวอย่างประกอบการพิจารณา หรือรูปถ่าย
3. หลังการเก็บตัวอย่าง ตรวจสอบความครบและถูกต้องตามจำนวนตัวอย่างที่เก็บ / ระบุตรงตามเอกสาร ตรวจเช็คว่าผู้ประกอบได้เซ็นเอกสารครบถ้วนและสอดคล้องกัน
4. ข้อควรระวังในการเก็บตัวอย่าง ปริมาณต้องเพียงพอกับการวิเคราะห์ อุณหภูมิ/เวลา ของผลิตภัณฑ์(ที่ต้องรักษา) ระยะเวลาที่จะถึงที่เจ้าหน้าที่วิเคราะห์ การตรวจวิเคราะห์ตัวอย่าง
ขอบคุณคะ