บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming
จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้ 2.1 รหัสควบคุมในภาษา C 2.2 ใส่คำอธิบาย (Comment) ลงใน โปรแกรม 2.3 การคำนวณในภาษา C 2.4 นิพจน์การคำนวณ 2.5 การคำนวณทศนิยม 2.6 สรุป C Programming C-Programming
จันทร์ดารา Surin Campus : รหัสควบคุมในภาษา C \a ส่งเสียง Beep \n ขึ้นบรรทัดใหม่ \t แท็บในแนวนอน \b ย้อนกลับไป 1 ตัวอักษร \v แท็บในแนวตั้ง \f ขึ้นหน้าใหม่ \r รหัส Return \’ แทนตัวอักษร Single Quote(’) \’’ แทนตัวอักษร Double Quote(’’) \\ แทนตัวอักษร Backslash(\) \000 แทนตัวอักษรที่มีค่า ASCII เท่ากับ 000 ใน ระบบเลขฐานแปด \xhh แทนตัวอักษรที่มีค่า ASCII เท่ากับ hh ใน ระบบเลขฐานสิบหก C Programming C-Programming
จันทร์ดารา Surin Campus : รหัสควบคุมในภาษา C #include Void main() { printf(“== Welcome == \n\n”); printf(“Alert\a\n”); print(“1 2 \b3 4\n”); printf(“backslash \\ \n”); printf(“show \” \n”); printf(“show \ ‘hello\’ \n”); printf(“ascii \123 \n”); printf(“ascii \x2e \n”); } C Programming C-Programming
จันทร์ดารา Surin Campus : ใส่คำอธิบาย (comment) ลง ในโปรแกรม // ใช้ในการใส่คำอธิบายแบบบรรทัดเดียว โดยจะมีผลให้ข้อความใดๆ หลังจาก เครื่องหมาย // ไปจนสุดบรรทัดนั้นๆ เป็น คำอธิบายทั้งหมด /*..*/ ใช้ในการใส่คำอธิบายแบบหลาย บรรทัด โดยจะมีผลให้ข้อความใดๆ ที่อยู่ ระหว่าง /* และ */ กลายเป็นคำอธิบาย ( อาจจะเป็น 1 บรรทัดหรือมากกว่าก็ได้ ) เช่น /* Program by Sasalak Thongkhao */ //include stdio.h for printf command #include C Programming C-Programming
จันทร์ดารา Surin Campus : การคำนวณในภาษาซี เครื่องหมายหรือโอเปอเรเตอร์ (Operator) มีดังนี้ + เครื่องหมายบวก (Addition) - เครื่องหมายลบ (Subtraction) * เครื่องหมายคูณ (Multiplication) / เครื่องหมายหาร (Division) % เครื่องหมายหารแบบเอาเศษเป็น คำตอบ (Mod) C Programming C-Programming
จันทร์ดารา Surin Campus : การคำนวณในภาษาซี ตัวอย่าง math1.c #include void main() { Printf(“%d\n”,250+43); } C Programming C-Programming 293 %d เป็นการกำหนดรูปแบบของผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็มฐานสิบ และแทนที่ลงตรงตำแหน่ง %d
จันทร์ดารา Surin Campus : การคำนวณในภาษาซี ตัวอย่าง math1update.c #include void main() { printf(“Answer is %d.\n”,250+43); printf(“%d %d\n”,5-3,10-2); printf(“%d \n”,5*5); printf(“%d \n”,7/3); printf(“%d \n”,7%3); } C Programming C-Programming Answer is
จันทร์ดารา Surin Campus : นิพจน์การคำนวณ ลำดับการคำนวณนิพจน์ทาง คณิตศาสตร์ 1. เครื่องหมายที่อยู่หน้าตัวเลข เช่น (...) วงเล็บ 3. *,/ เครื่องหมายคูณและ หาร 4. +,- เครื่องหมายบวกและ ลบ C Programming C-Programming
จันทร์ดารา Surin Campus : นิพจน์การคำนวณ ตัวอย่าง math2.c #include void main() { printf(“A = %d\n”,(10-5)*3+(2+10)/4); } C Programming C-Programming A = 18
จันทร์ดารา Surin Campus : การคำนวณทศนิยม ใช้ %f (f ย่อมาจาก float) #include void main() { printf(“Area = %f”,0.43*3*4); } C Programming C-Programming Area =
จันทร์ดารา Surin Campus : การคำนวณทศนิยม ตัวอย่าง math4.c #include void main() { printf(“Average = %f\n”,( )/3); } C Programming C-Programming Average =
จันทร์ดารา Surin Campus : สรุป ในการคำนวณนั้น ไม่ว่าจะเป็นเลขจำนวนเต็ม หรือเลขทศนิยมก็ตาม เราสามารถใส่นิพจน์ ให้กับการคำนวณได้ เช่น การใส่วงเล็บเพื่อให้ ลำดับการคำนวณเป็นไปตามที่ต้องการ และ ถ้าคาดว่าผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณจะ ออกมาเป็นเลขทศนิยมเราจะต้องแสดงค่าโดย ใช้ %f เพื่อให้ได้ค่าที่ถูกต้อง C Programming C-Programming