ประจำเดือนธันวาคม 2556 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานผลการดำเนินงาน บริหารจัดการค่าใช้จ่าย
Advertisements

การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
ข้อมูลสุขภาพ 21,43 แฟ้ม: การจัดการเพื่อใช้ประโยชน์
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ปีงบประมาณ 2555 ชี้แจงงบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการ ปฐมภูมิ (On top payment) ปีงบประมาณ 2555.
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
งานทันตสาธารณสุข ในหน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
การสนับสนุนการขับเคลื่อนงานพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS) เครือข่ายบริการที่ 4.
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
เปรียบเทียบประมาณการค่าใช้จ่ายตามแผนต่อเดือน กลุ่มที่ 1 รพ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ.เลย
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
สรุปข้อมูลตัวชี้วัด งานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สสจ.เลย
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
สถานการณ์ 21 & 43 แฟ้ม จังหวัดเลย
สาขาโรคมะเร็ง.
ของส่วนราชการและหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย Iodize oil capsul ประเด็นนำเสนอ.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
1.1 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
ผลงานการพัฒนาระบบข้อมูล บริการผู้ป่วยนอก และสร้าง เสริมสุขภาพป้องกันโรค OP/PP Individual Data ปี 2556.
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
แนวทางการดำเนินงาน แพทย์แผนไทย ปี 57
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
การพัฒนาคลังข้อมูลสุขภาพ จังหวัดเลย
งานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ติดตามความก้าวหน้า LTCLink จังหวัดเลย. แผนการดำเนินงานจังหวัดเลย ปี 57 กิจกรรม ต. ค. 56 พ. ย. 56 ธ. ค. 56 ม. ค. 57 ก. พ. 57 มี. ค. 57 เม. ย. 57 พ. ค.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประจำเดือนธันวาคม 2556 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย ผลงานเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ Quality and Outcome Framework : QOF ปีงบประมาณ 2557 ประจำเดือนธันวาคม 2556 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย

แนวทางการจัดการจัดสรรงบตาม ตัวชี้วัด QOF (งบประมาณ 54 แนวทางการจัดการจัดสรรงบตาม ตัวชี้วัด QOF (งบประมาณ 54.65 บาท/UC =236,938,423 บาท) จัดสรรล่วงหน้าให้กับหน่วยบริการ ไปพร้อมกับ งบเหมาจ่ายรายหัวในอัตรา 28.13 บาท/UC (121,946,110 บาท) จัดสรรตามตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงาน อัตรา 25.98/UC โดยใช้ผลงาน 12 เดือน ไตร มาส 3 และ 4 ปี 2556 ไตรมาส 1 และ 2 ปี 2557 (25.98/UC =112,622,929 บาท) จัดสรรเพิ่มเติมให้กับ CUP ที่มีผลงาน excellence ในอัตรา 0.55 บาท/UC : ระดับ เขต 30% (710,815 บาท) ระดับจังหวัด 70%) (1,658,569บาท) ทั้งนี้ สปสช.จะนำงบส่วนที่ 1 มาหักลบกลบหนี้จากเงินที่พึงจ่ายผลงาน QOF ของหน่วยบริการนั้นๆ หมายเหตุ :งบ QOF ทั้งหมด = 236,938,423 – 2,369,384 คงเหลือ 234,569,039 บาท)

งบประมาณ QOF จังหวัดเลย ปี 2557 อำเภอ ประชากร UC (ต.ค.56) งบประมาณ QOF (54.65 บาท/ปชก.) จ่ายล่วงหน้าให้หน่วยบริการ(28.13 บาท) เมืองเลย 92,589 5,059,988.85 2,604,528.57 นาด้วง 21,888 1,196,179.20 615,709.44 เชียงคาน 48,102 2,628,774.30 1,353,109.26 ปากชม 34,400 1,879,960.00 967,672.00 ด่านซ้าย 42,440 2,319,346.00 1,193,837.20 นาแห้ว 8,985 491,030.25 252,748.05 ภูเรือ 18,111 989,766.15 509,462.43 ท่าลี่ 22,851 1,248,807.15 642,798.63 วังสะพุง 88,746 4,849,968.90 2,496,424.98 ภูกระดึง 27,691 1,513,313.15 778,947.83 ภูหลวง 20,063 1,096,442.95 564,372.19 ผาขาว 33,475 1,829,408.75 941,651.75 เอราวัณ 31,932 1,745,083.80 898,247.16 หนองหิน 19,761 1,079,938.65 555,876.93 รวม 511,034 27,928,008.10 14,375,386.42

ตัวชี้วัดด้านที่ 1 : คุณภาพและผลงานการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (คะแนน 400 คะแนน) อัตรา บ./ปชก.UC 1.ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ 4.33 2.  ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12สัปดาห์ 3. ร้อยละของสตรี30-60ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสมถึงปี2557 4. ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีนโรคหัด 2.71 5. ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการตรวจช่องปาก 6. ร้อยละของ ปชช.อายุ 35-59 ปีได้รับการคัดกรอง โรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูง 3.25 รวมงบ 21.66

ตัวชี้วัดด้านที ๒ : คุณภาพและผลงานการจัดบริการปฐมภูมิ โรค (คะแนน 300 คะแนน) อัตรา บ./ปชก.UC 1. สัดส่วนการใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิต่อการใช้บริการที่ รพ. 2.43 2. อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล (Admission rate) ด้วยโรคหืด สิทธิ UC 3.  อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล(Admission rate) ด้วยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนระยะสั้น สิทธิ UC 4.  อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล(Admission rate) ด้วยโรคความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของโรคควมดันโลหิตสูง สิทธิ UC 5. อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจจอประสาทตาประจำปี 3.25 6.  อัตราผู้ป่วยHT ที่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ < 140/90 mmHg เพิ่มขึ้น รวม 16.22

ตัวชี้วัดด้านที ๓ : คุณภาพและผลงานด้านการพัฒนาองค์กร การเชื่อมโยงบริการระบบส่งต่อ และการบริหารระบบ (200 คะแนน) ตัวชี้วัด อัตรา บ./ปชก.UC 1. ร้อยละประชาชนมีหมอใกล้บ้านใกล้ใจดูแล 3.25 2. ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิผ่านเกณฑ์ขึ้นทะเบียน (ผ่านแบบไม่มีเงื่อนไข) 3. มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่เชื่อมโยงโรงพยาบาลและหน่วยบริการปฐมภูมิ และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ 2.16 4. หน่วยบริการประจำมีการจัดระบบสนับสนุนการจัดบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ ประกอบด้วย ระบบยาและเวชภัณฑ์ IC LAB ระบบข้อมูล และระบบให้คำปรึกษา รวม 10.82

ตัวชี้วัดด้านที ๔ : คุณภาพและผลงานของบริการที่จำเป็นตอบสนองปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และบริการเสริมในพื้นที่ (100 คะแนน) ตัวชี้วัด อัตรา บ./ปชก.UC 1.  ร้อยละคนพิการที่ขึ้นทะเบียน ท74 ได้รับการสำรวจความพิการโดยใช้รหัส ICFต่อประชากรที่ขึ้นทะเบียน ท74 ทั้งหมด 1.08 2. ร้อยละคลินิก ANC คุณภาพ 0.81 3.  ร้อยละคลินิก WCC คุณภาพ 4.  ร้อยละของเด็กประถม1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน 5. ร้อยละผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์ 6. ร้อยละผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ รวม 5.40

ค่าคะแนน 1=<65% 2=65-69.99% 3=70-74.99% 4=75-79.99% 5=>=80%

ค่าคะแนน 1=<90% 2=90-91.99% 3=92-93.99% 4=94-95.99% 5=>=96%

ค่าคะแนน 1=<1.01 2=1.01-1.35 3=1.36-1.50 4=1.51-1.70 5=>1.70

ค่าคะแนน 1=<10% 2=10-29.99% 3=30-49.99% 4=50-79.99% 5=>=80%

ค่าคะแนน 1=<50% 2=50-59.99% 3=60-69.99% 4=70-79.99% 5=>=80%