ประจำเดือนธันวาคม 2556 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย ผลงานเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ Quality and Outcome Framework : QOF ปีงบประมาณ 2557 ประจำเดือนธันวาคม 2556 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
แนวทางการจัดการจัดสรรงบตาม ตัวชี้วัด QOF (งบประมาณ 54 แนวทางการจัดการจัดสรรงบตาม ตัวชี้วัด QOF (งบประมาณ 54.65 บาท/UC =236,938,423 บาท) จัดสรรล่วงหน้าให้กับหน่วยบริการ ไปพร้อมกับ งบเหมาจ่ายรายหัวในอัตรา 28.13 บาท/UC (121,946,110 บาท) จัดสรรตามตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงาน อัตรา 25.98/UC โดยใช้ผลงาน 12 เดือน ไตร มาส 3 และ 4 ปี 2556 ไตรมาส 1 และ 2 ปี 2557 (25.98/UC =112,622,929 บาท) จัดสรรเพิ่มเติมให้กับ CUP ที่มีผลงาน excellence ในอัตรา 0.55 บาท/UC : ระดับ เขต 30% (710,815 บาท) ระดับจังหวัด 70%) (1,658,569บาท) ทั้งนี้ สปสช.จะนำงบส่วนที่ 1 มาหักลบกลบหนี้จากเงินที่พึงจ่ายผลงาน QOF ของหน่วยบริการนั้นๆ หมายเหตุ :งบ QOF ทั้งหมด = 236,938,423 – 2,369,384 คงเหลือ 234,569,039 บาท)
งบประมาณ QOF จังหวัดเลย ปี 2557 อำเภอ ประชากร UC (ต.ค.56) งบประมาณ QOF (54.65 บาท/ปชก.) จ่ายล่วงหน้าให้หน่วยบริการ(28.13 บาท) เมืองเลย 92,589 5,059,988.85 2,604,528.57 นาด้วง 21,888 1,196,179.20 615,709.44 เชียงคาน 48,102 2,628,774.30 1,353,109.26 ปากชม 34,400 1,879,960.00 967,672.00 ด่านซ้าย 42,440 2,319,346.00 1,193,837.20 นาแห้ว 8,985 491,030.25 252,748.05 ภูเรือ 18,111 989,766.15 509,462.43 ท่าลี่ 22,851 1,248,807.15 642,798.63 วังสะพุง 88,746 4,849,968.90 2,496,424.98 ภูกระดึง 27,691 1,513,313.15 778,947.83 ภูหลวง 20,063 1,096,442.95 564,372.19 ผาขาว 33,475 1,829,408.75 941,651.75 เอราวัณ 31,932 1,745,083.80 898,247.16 หนองหิน 19,761 1,079,938.65 555,876.93 รวม 511,034 27,928,008.10 14,375,386.42
ตัวชี้วัดด้านที่ 1 : คุณภาพและผลงานการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (คะแนน 400 คะแนน) อัตรา บ./ปชก.UC 1.ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ 4.33 2. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12สัปดาห์ 3. ร้อยละของสตรี30-60ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสมถึงปี2557 4. ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีนโรคหัด 2.71 5. ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการตรวจช่องปาก 6. ร้อยละของ ปชช.อายุ 35-59 ปีได้รับการคัดกรอง โรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูง 3.25 รวมงบ 21.66
ตัวชี้วัดด้านที ๒ : คุณภาพและผลงานการจัดบริการปฐมภูมิ โรค (คะแนน 300 คะแนน) อัตรา บ./ปชก.UC 1. สัดส่วนการใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิต่อการใช้บริการที่ รพ. 2.43 2. อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล (Admission rate) ด้วยโรคหืด สิทธิ UC 3. อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล(Admission rate) ด้วยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนระยะสั้น สิทธิ UC 4. อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล(Admission rate) ด้วยโรคความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของโรคควมดันโลหิตสูง สิทธิ UC 5. อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจจอประสาทตาประจำปี 3.25 6. อัตราผู้ป่วยHT ที่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ < 140/90 mmHg เพิ่มขึ้น รวม 16.22
ตัวชี้วัดด้านที ๓ : คุณภาพและผลงานด้านการพัฒนาองค์กร การเชื่อมโยงบริการระบบส่งต่อ และการบริหารระบบ (200 คะแนน) ตัวชี้วัด อัตรา บ./ปชก.UC 1. ร้อยละประชาชนมีหมอใกล้บ้านใกล้ใจดูแล 3.25 2. ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิผ่านเกณฑ์ขึ้นทะเบียน (ผ่านแบบไม่มีเงื่อนไข) 3. มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่เชื่อมโยงโรงพยาบาลและหน่วยบริการปฐมภูมิ และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ 2.16 4. หน่วยบริการประจำมีการจัดระบบสนับสนุนการจัดบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ ประกอบด้วย ระบบยาและเวชภัณฑ์ IC LAB ระบบข้อมูล และระบบให้คำปรึกษา รวม 10.82
ตัวชี้วัดด้านที ๔ : คุณภาพและผลงานของบริการที่จำเป็นตอบสนองปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และบริการเสริมในพื้นที่ (100 คะแนน) ตัวชี้วัด อัตรา บ./ปชก.UC 1. ร้อยละคนพิการที่ขึ้นทะเบียน ท74 ได้รับการสำรวจความพิการโดยใช้รหัส ICFต่อประชากรที่ขึ้นทะเบียน ท74 ทั้งหมด 1.08 2. ร้อยละคลินิก ANC คุณภาพ 0.81 3. ร้อยละคลินิก WCC คุณภาพ 4. ร้อยละของเด็กประถม1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน 5. ร้อยละผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์ 6. ร้อยละผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ รวม 5.40
ค่าคะแนน 1=<65% 2=65-69.99% 3=70-74.99% 4=75-79.99% 5=>=80%
ค่าคะแนน 1=<90% 2=90-91.99% 3=92-93.99% 4=94-95.99% 5=>=96%
ค่าคะแนน 1=<1.01 2=1.01-1.35 3=1.36-1.50 4=1.51-1.70 5=>1.70
ค่าคะแนน 1=<10% 2=10-29.99% 3=30-49.99% 4=50-79.99% 5=>=80%
ค่าคะแนน 1=<50% 2=50-59.99% 3=60-69.99% 4=70-79.99% 5=>=80%