สื่อการสอนคณิตศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

จัดทำโดย นางวรวรรณ ชะโลธาร
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
เปลี่ยนสี และรูปแบบของตัวหนังสือ และจุดเชื่อมโยง
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
สอบท้ายบท เรื่อง เวกเตอร์
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
เวกเตอร์และสเกลาร์ขั้นสูง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
อสมการ.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
ลิมิตและความต่อเนื่อง
Points, Lines and Planes
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การใช้งาน Microsoft Excel
Function and Their Graphs
Quadratic Functions and Models
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ให้ขยับก้านไม้ขีดได้ 3 ก้าน แล้วทำให้ปลาว่ากลับด้านจากซ้ายมาขวา
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
โรงเรียนชุมชนบ้านบือแนปีแน สพป.ปัตตานี เขต 2
การประดิษฐ์ตัวอักษร (ตอนที่ 2.1)
ด.ญ. เปรมศิณี แร่มี เลขที่ 14
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
สัปดาห์ที่ 16 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part II)
บทที่ 7 การแทรกตาราง กราฟ และแผนผัง
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
Tips and Tools MS Excel By คนควน.
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
บทที่ 8 การสร้างวัตถุเคลื่อนไหวโดย Bone Tool
วงรี ( Ellipse).
ครูชำนาญ ยันต์ทอง โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค คณิตศาสตร์พื้นฐาน.
เรื่อง เงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
นางสาวปัทมาภรณ์ บุญมาดี คุณครูนวลทิพย์ นวพันธุ์
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
และการทำงานกับตัวอักษร
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
ความชันและสมการเส้นตรง
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
การใช้เครื่องมือ (Tool Box)
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
พาราโบลา (Parabola).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อการสอนคณิตศาสตร์ เรื่อง ความชันของเส้นตรง วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดย นางรสริน แสงศิริ ครูชำนาญการ โรงเรียนปทุมวิไล ปทุมธานี

ผลการเรียนรู้ หาความชันของเส้นตรง

บทนิยาม ให้ l เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด และ โดยที่ m เป็นความชันของเส้นตรง l ก็ต่อเมื่อ หรือ Y X

ตัวอย่างที่ 1 จงหาความชันของเส้นตรงที่ผ่านจุด A(-2,-3) และ จุด B(1,4) วิธีทำ ให้ (-2,-3) และ (1,4) = = X Y = = เส้นตรง AB ทำมุมแหลมกับแกน X ในทิศทวนเข็มนาฬิกา ความชันเป็นบวก ( m > 0 )

ตัวอย่างที่ 2 จงหาความชันของเส้นตรงที่ผ่านจุด A(3,0) และ จุด B(-1,8) วิธีทำ (3,0) และ (-1,8) = = Y = = X = -2 เส้นตรง AB ทำมุมป้านกับแกน X ในทิศทวนเข็มนาฬิกา ความชันเป็นลบ ( m < 0 )

ตัวอย่างที่ 3 จงหาความชันของเส้นตรงที่ผ่านจุด A(-2,6) และ จุด B(4,6) วิธีทำ (-2,6) และ (4,6) = = Y = = X = เส้นตรง AB ขนานกับแกน X ความชันเท่ากับศูนย์ ( m = 0 )

เส้นตรง AB ตั้งฉากกับแกน X วิธีทำ (3,4) และ (3,-2) = = Y = X = = หาค่าไม่ได้ เส้นตรง AB ตั้งฉากกับแกน X ความชันหาค่าไม่ได้

ถูก ผิด เลือกคำตอบที่ถูกโดยใช้เมาส์คลิก แบบฝึกทักษะ เลือกคำตอบที่ถูกโดยใช้เมาส์คลิก 1. ความชันของเส้นตรงที่ผ่านจุด (0,0) และ (2,6) เท่ากับ 0 ถูก ผิด

2. ความชันของเส้นตรงที่ผ่านจุด (1,2) และ (3,4) เท่ากับ 1 ถูก ผิด

3. ความชันของเส้นตรงที่ผ่านจุด (-5,4) และ (-5,-6) เท่ากับ 0 ถูก ผิด

4. จุด (2,3), (4,5) และ (6,7) อยู่บนเส้นตรงเดียวกัน ถูก ผิด

-2 -1 2 8 30 5. ถ้าเส้นตรงที่ลากผ่านจุด (-4,-4) และ (2,y)

-2 -1 2 8 6. ถ้าเส้นตรงที่ลากผ่านจุด (2,k) และ (5,6) มีความชันเท่ากับเส้นตรงที่ลากผ่านจุด (-2,1) และ (1,5) จงหาค่า k เท่ากับข้อใด -2 -1 2 8

7. ถ้าจุด A(1,-1) , B(2,2) และ C(4,t) อยู่บน ใช้เมาส์คลิกตัวเลขในแถบที่กำหนดให้ที่เป็นคำตอบ เมื่อตอบเสร็จ ให้กด Done กดผิดหรือแก้ไขคำตอบใช้แป้น Del เว้นวรรคให้กด space 7. ถ้าจุด A(1,-1) , B(2,2) และ C(4,t) อยู่บน เส้นตรงเดียวกันแล้ว จงหาค่า t เท่ากับเท่าใด 30 <Keypad will appear here based on shape and location of this rectangle.>

1) P(5,2) และ Q(x,6); m = 4 2) P(6,-3) และ Q(9,x); m = 8. จงหาค่า x ที่ทำให้เส้นตรงที่ผ่านจุด P และ Q มีความชันเท่ากับ m ตามที่กำหนดให้ 1) P(5,2) และ Q(x,6); m = 4 <Keypad will appear here based on shape and location of this rectangle.> 2) P(6,-3) และ Q(9,x); m = 3) P(1,x) และ Q(4,3); m =

3 2 -1 -3 9. จงหาความชันของเส้นตรงที่ผ่านจุดสองจุด ตัวเลขบนวงกลมคือคำตอบ ให้ใช้เมาส์คลิกและลากเมาส์ค้างมายังโจทย์ในแต่ละข้อ 9. จงหาความชันของเส้นตรงที่ผ่านจุดสองจุด จงหา 3 (0,0) และ (2,6) เท่ากับ ............. 2 -1 (0,0) และ (-2,6) เท่ากับ .............. -3

1 5 -5 3 -1 -2 8 ให้เติมตัวเลขที่ขีดแทนใต้แทนจำนวนใด โดยลากเมาส์ตัวเลขที่เป็นคำตอบมาวาง 10. เส้นตรงที่ผ่านจุด (3, ) และ (-1,-5) และมีความชันเท่ากับ 1 5 -5 3 -1 -2 8

ความชันน้อยกว่าศูนย์ นำเมาส์เลือกสีตามต้องการ และโยงหมายเลขไปยังคำตอบ หาส่วนของเส้นตรงในแต่ละหมายเลขมีความชันเท่าใด Y ความชันมากกว่าศูนย์ ความชันน้อยกว่าศูนย์ X ความชันเท่ากับศูนย์ ความชันหาค่าไม่ได้

<Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>