สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
การออกแบบการเรียนรู้ Backward Design
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ตรรกศาสตร์ (Logics) Chanon Chuntra.
สับเซตและเพาเวอร์เซต
แผนภาพเวนน์–ออยเลอร์ (Vernn–Euler Diagram)
เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
ประพจน์ และค่าความจริง
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
Lecture 2: Logic Methods of proof.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สัดส่วนและการหาค่าตัวแปร
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
- คนไทยชอบยิ้ม = ท - มหาวิทยาลัย คือ สถาบันอุดมศึกษา = ม - Love is blind= L - Aristotle is a logician.= A.
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
ตารางค่าความจริงของตัวดำเนินการเชิงตรรกะ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
ชุดฝึกแทนค่าตัวแปรในนิพจน์พีชคณิต
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๑ การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ ประกอบงาน การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ประกอบ งาน มีอยู่หลายวิธีขึ้นอยู่ กับ.
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
โรงเรียนบ้านวังไทร อำเภอปากช่อง สพท.นม. เขต 4
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
สาระการเรียนรู้ที่ ๕ การสร้างตารางค่าความจริง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกความหมายของประโยคเปิดได้ถูกต้อง 2. นักเรียนสามารถเขียนสัญลักษณ์ของประโยคเปิดแทนข้อความ ได้ถูกต้อง

สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด จงพิจารณาประโยคในข้อต่อไปนี้ 1. x + 1 = 3 2. x เป็นจำนวนตรรกยะ 3. y ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ 4. a  0 5. เขาเป็นนักคณิตศาสตร์ ประโยค (1) – (5) มีลักษณะดังนี้ 1. เป็นประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธ และ

สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด 2. มีตัวแปรที่ไม่ทราบว่าเป็นสิ่งใดในประโยค เรียกว่า ตัวแปร ทำให้ไม่สามารถหาค่าความจริงของประโยคนั้นได้ และ 3. ถ้ากำหนดเอกภพสัมพัทธ์ และนำสมาชิกใด ๆ ในเอกภพสัมพัทธ์ไปแทนค่าตัวแปรในประโยคนั้นจะได้ประพจน์ ประโยคที่มีลักษณะตามข้อ 1 ถึงข้อ 3 ต่อไปจะเรียกว่า ประโยคเปิด ประโยคเปิด หมายถึง ประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธที่มีตัวแปร และเมื่อแทนค่าตัวแปรในประโยคเปิดด้วยสมาชิกใด ๆ ในเอกภพสัมพัทธ์ จะได้ประพจน์

สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด สัญลักษณ์ ประโยคเปิดที่มีตัวแปร x จะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ P(x) หรือ Q(x) เป็นต้น ตัวอย่างเช่น P(x) : x ไม่เป็นจำนวนนับ Q(x) : 2x + 3 = 9 หมายเหตุ ประโยคบางประโยคไม่เป็นประโยคเปิด ถึงแม้ว่าประโยคนั้น จะมีตัวแปร เพราะเมื่อนำสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์มาแทน ค่าตัวแปรในประโยคนั้น ก็จะไม่ได้ประพจน์ ตัวอย่างเช่น x + 1 จะพบว่า ถ้า  เป็นเอกภพสัมพัทธ์แล้ว เมื่อนำสมาชิกใด ๆ ใน  ไปแทนค่า x ในประโยคนี้จะไม่สามารถหาค่าความ จริงได้หรือไม่เป็นประพจน์

ตัวอย่างที่ 1 ประโยคในข้อต่อไปนี้เป็นประพจน์หรือประโยคเปิด หรือ ไม่ใช่ทั้งประพจน์และประโยคเปิด 1. เธอกำลังเรียนอยู่ในมหาวิทยาลัย 2. เขาเป็นนักเรียนที่ตั้งใจเรียนมากใช่หรือไม่ 3. ถ้า 2 เป็นจำนวนเฉพาะ แล้ว 2 เป็นจำนวนคี่ 4. x  0 และ x เป็นจำนวนนับ 5. x เป็นจำนวนเต็ม หรือ x เป็นจำนวนอตรรกยะ 6. ถ้า x เป็นจำนวนเต็มแล้ว เป็นจำนวนจริง 7. x2 - 9 8. (x + 5)(x – 1) = x2 + 4x - 5

วิธีทำ 1. เป็นประโยคเปิด เพราะเป็นประโยคบอกเล่ามี “เธอ” เป็น ตัวแปร และถ้ากำหนดเอกภพสัมพัทธ์เมื่อแทนตัวแปรด้วย สมาชิกของเอกภพสัมพัทธ์จะได้ประพจน์ 2. ไม่เป็นประพจน์และไม่เป็นประโยคเปิด เพราะเป็นประโยค คำถาม ถึงแม้จะมีตัวแปร “เขา” ก็ตาม 3. เป็นประพจน์ เนื่องจากประโยคนี้สามารถหาค่าความจริงได้ ว่าเป็นเท็จ 4. เป็นประโยคเปิด เพราะเป็นประโยคบอกเล่าเป็นตัวแปร และ ถ้ากำหนดเอกภพสัมพัทธ์เมื่อแทนตัวแปรด้วย x ด้วยสมาชิก ของเอกภพสัมพัทธ์จะได้ประพจน์

วิธีทำ 5. เป็นประโยคเปิด เพราะเป็นประโยคบอกเล่าเป็นตัวแปร และ ถ้ากำหนดเอกภพสัมพัทธ์เมื่อแทนตัวแปรด้วย x ด้วยสมาชิก ของเอกภพสัมพัทธ์จะได้ประพจน์ 6. เป็นประโยคเปิด เพราะเป็นประโยคบอกเล่าเป็นตัวแปร และ ถ้ากำหนดเอกภพสัมพัทธ์เมื่อแทนตัวแปรด้วย x ด้วยสมาชิก ของเอกภพสัมพัทธ์จะได้ประพจน์ 7. ไม่เป็นประพจน์และไม่เป็นประโยคเปิด เพราะเป็นประโยคที่มี ตัวแปร แต่ถ้าแทนตัวแปรด้วยสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์จะได้ ประโยคที่ไม่สามารถหาค่าความจริงได้ 8. เป็นประโยคเปิด (เหตุผลเช่นเดียวกับข้อ (4))

แบบฝึกทักษะ ๑.๘ การอ้างเหตุผล 1. จงพิจารณาว่า ประโยคในข้อต่อไปนี้เป็นประพจน์ หรือเป็นประโยค เปิด หรือไม่เป็นทั้งประพจน์และประโยคเปิด 1. x เป็นจำนวนนับและเป็นจำนวนเฉพาะ 2. 2 เป็นจำนวนคู่ และเป็นจำนวนเฉพาะ 3. ถ้า x เป็นจำนวนตรรกยะ แล้ว x2 เป็นจำนวนตรรกยะ 4. เขาเป็นทั้งนักคณิตศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์ 5. เธอชอบเรียนคณิตศาสตร์มาก 6. x2 – 16 = (x + 4)(x – 4)

แบบฝึกทักษะ ๑.๘ การอ้างเหตุผล 7. 4 เป็น ห.ร.ม. ของ 8 และ 12 8. a เป็น ค.ร.น.ของ 8 และ 12 9. สุนทรภู่เป็นกวีเอกของไทยใช่หรือไม่ 10. เขาเป็นนักเทนนิส และเป็นนักฟุตบอล 11. x เป็นจำนวนเฉพาะ แต่ x2 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ 12. x2 + 6x + 9 = (x + 3)2

กลับสู่หน้าเมนูหลัก