เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
Advertisements

เรื่อง Adjectives หรือ คุณศัพท์
adjectives โดย ลลิตา โรจน์พงศ์สถาพร เลขที่ 4 ป.5 orange
เหตุผลวิบัติ E - L e a r n i n g เหตุผลวิบัติ ( fallacies )
สนุกกับชนิดของคำไทย ไปกับ อ. พัชรินทร์ พึ่งเนตร
เรื่อง คำสรรพนาม.
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
รายงานการวิจัย.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
ประโยคความซ้อน หรือ สังกรประโยค
คำกริยา.
คำวิเศษณ์.
คำกริยา.
คำนาม สามานยนาม วิสามานยนาม ลักษณนาม สมุหนาม อาการนาม.
คำสรรพนาม.
คำวิเศษณ์.
เรื่อง คำอุทาน.
คำนาม.
นำเสนอหนังสือวิชาการ
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
นางสาวสมาพร เอี่ยมจรูญ
ภาษาไทย เสนอ อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ จัดทำโดย
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
บทนำ บทที่ 1.
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
กลุ่มสาระภาษาไทย สำหรับช่วงชั้นที่ 2
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
Parts of Speech ( ชนิดของคำ )
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
วิชาคอมพิวเตอร์ ง โครงงาน เรื่อง สนุกกับคำ เสนอ
อาณ์รมของเด็ก     ลักษณะเด่นทางอารมณ์ของเด็กวัย 3-5 ขวบ มักเป็นเด็กที่แสดงออกอย่างเปิดเผยชัดเจน และแสดงออกตรง ๆ เช่น รัก รื่นเริง โกรธ โมโห หงุดหงิด อิจฉา.
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
สื่อ CAI เรื่อง คำนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
การรับฟังพยานหลักฐาน
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
คำ วิเศษณ์ สนุกกับชนิดของคำ
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
นางสรัญญา โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน สพป.กจ.2
การสร้างสรรค์บทละคร.
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
สถานที่น่าสนใจใน 10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด. ญ
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
สนุกกับชนิดของคำ เรื่อง คำอุทาน สรุปแผนผังความคิด เรื่องคำอุทาน
สนุกกับชนิดของคำ สนุกกับชนิดของคำ สันธาน
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
เรื่อง ประโยค.
นาย เกียรติศักดิ์ แสนนวล โรงเรียนจักรคำคณาทรลำพูน
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
สนุกกับชนิดของคำ โดย ด.ช.อัมรินทร์ อุดมวรนันท์ ป.6/8 เลขที่ 15.
หลักการเขียนโครงการ.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องทำ Animetion ง่ายๆด้วย Easy toon จัดทำโดย ชื่อ ด. ช. ชนาธิป อร่ามดิลกรัตน์ เลขที่ 10 ชั้น 1/8 เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร.
จัดทำโดย เด็กหญิง ปณิดา อุตสาสาร เลขที่ 6 เด็กหญิง ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด เลขที่ 10 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
อาหารประจำชาติอาเซียน
เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10 เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน

เมนู คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์ คำบุพบท คำสันธาน คำอุทาน ถัดไป

2. คำสรรพนาม คำสรรพนาม คือ คำที่ใช้แทนคำนาม แบ่งเป็น 6 ชนิด คือ คำสรรพนาม คือ คำที่ใช้แทนคำนาม แบ่งเป็น 6 ชนิด คือ 2.1 บุรุษสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนชื่อเวลาพูดจากัน 2.2 ประพันธสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนคำนามที่อยู่ข้างหน้า 2.3 นิยมสรรพนาม คือ สรรพนามที่กำหนดความรู้ให้แน่นอน 2.4 อนิยมสรรพนาม คือ สรรพนามที่แทนสิ่งที่ไม่ชี้เฉพาะเจาะจงไม่ได้กล่าวในเชิงถามหรือสงสัย 2.5 ปฤจฉาสรรพนาม คือ คำสรรพนามที่ใช้เป็นคำถาม 2.6 วิภาคสรรพนาม คือ นามที่ใช้แทนคำนาม เมนู ถัดไป

1.คำนาม คำนาม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์สิ่งของ แบ่งเป็น 5 ชนิดคือ คำนาม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์สิ่งของ แบ่งเป็น 5 ชนิดคือ 1.1 สามานยนาม คือ นามที่เป็นชื่อทั่วไป 1.2 วิสามานยนาม คือ นามที่เป็นชื่อเฉพาะ 1.3 สมุหนาม คือ นามที่เป็นหมู่คณะ 1.4 ลักษณะนาม คือ นามที่ใช้บอกลักษณะของนาม 1.5 อาการนาม เมนู ถัดไป

3.คำกริยา คำกริยา คือ คำที่แสดงอาการของคำนาม สรรพนาม แบ่งออกเป็น 4 ชิด คือ 3.1 สกรรมกริยา คือ คำกริยาที่ต้องมีกรรมมารองรับ 3.2 อกรรมกริยา คือ คำกริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารองรับ 3.3 วิกตรรถกริยา คือ คำกริยาที่ไม่มีความหมายในตัวเอง ต้องมีคำอื่นมาประกอบจึงจะสมบูรณ์ 3.4 กริยาอนุเคราะห์ คือ คำกริยาที่ไม่มีความหมายในตัวเอง ทำหน้าที่ช่วยคำกริยาให้มีความหมายชัดเจนขึ้น เมนู ถัดไป

4.คำวิเศษณ์ คำวิเศษณ์ คือ คำจำพวกที่ประกอบคนอื่น เพื่อให้ได้ความชัดเจนขึ้น มี 10 ชนิด คือ 4.1 ลักษณะวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ขยายนาม สรรพนาม หรือ กริยา 4.2 กาลวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่ขยายคำอื่นเพื่อบอกเวลา 4.3 สถานวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์บอกสถานที่ 4.4 ประมาณวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่บอกปริมาณ 4.5 นิยมวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์บอกความแน่นอน 4.6 อนิยมวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่ใช้ประกอบ โดยไม่กำหนดความแน่นอนลงไป 4.7 ปฤจฉาวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่ใช้เป็นคำถามหรือแสดงความสงสัย 4.8 ประติเษธวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่แสดงความปฏิเสธ 4.9 ประติชญาวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่ใช้ในการพูดจากัน 4.10 ประพันธวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมคำ เมนู ถัดไป

5.คำบุพบท คำบุพบท คือ คำที่ใช้นำหน้านาม สรรพนาม หรือ กริยาบางพวกให้ต่อเนื่องกันและได้ความชัดเจนขึ้น แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 5.1 บุพบทที่ไม่เชื่อมกับคำอื่น คือ บุพบทที่ใช้เป็นคำเรียก 5.2 บุพบทที่เชื่อมกับคำอื่น คือ บุพบทที่ใช้นำหน้าคำอื่นทำให้ได้ความรัดกุมขึ้น ถัดไป เมนู

6.คำสันธาน คำสันธาน คือ คำที่ใช้เชื่อมคำหรือข้อความให้ต่อเนื่องกัน แบ่งออกเป็น 6 ชนิด คือ 6.1 เชื่อมความให้คล้อยตามกัน ได้แก่คำ ก็…จึง แล้วก็ 6.2 เชื่อมความที่ขัดแย้งกัน ได้แก่คำ แต่ แต่ทว่า ถึง…ก็ 6.3 เชื่อมให้เลือกเอา ได้แก่คำ หรือ มิฉะนั้น ไม่ก็ 6.4 เชื่อมความที่เป็นเหตุผล ได้แก่คำ จึง ฉะนั้น ดังนั้น 6.5 เชื่อมความให้แตกต่างตอน ได้แก่คำ ส่วน ฝ่าย หนึ่ง 6.6 เชื่อมความแบ่งรับรอง ได้แก่คำ ถ้า ถ้า…ก็ 6.7 เชื่อมความให้สละสลวย ได้แก่คำ อย่างไรก็ตาม อย่างไรก็ดี อันที่จริง เมนู ถัดไป

7.คำอุทาน คำอุทาน คือ คำแสดงความรู้สึกของผู้พูด แบ่งเป็น 7.1 อุทานบอกอาการ อาจจะอุทานแสดงความ เข้าใจ ตกใจ โกรธ เจ็บ ตื่นเต้นและสงสัย 7.2 อุทานเสริมบท เป็นคำที่เพิ่มเข้ามาโดยไม่ได้ตั้งใจให้ความเพิ่มมาแต่อย่างใด เช่น จานเจิน โต๊ะเต๊อะ เสื่อสาด เป็นต้น ถัดไป เมนู