สารบัญญัติ ตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่องพระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
Advertisements

กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
เรื่อง ระเบียบแก้ไขวันเดือนปีเกิด
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
อุทธรณ์.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
การค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์ สภาพปัญหา ผลกระทบ แนวทางการแก้ไขปัญหา.
ขั้นตอนการดำเนินงานเอกสาร
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ประเภทของยา แบ่งตามแผนของการประกอบโรคศิลปะ
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
ขั้นตอนการดำเนินคดี การสืบสวน การวางแผนปฏิบัติการ การตรวจค้น/จับกุม
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติการโฆษณา
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง (รยส.)
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (สสร.)
บริษัท ขนส่ง จำกัด (บขส.)
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ความรู้พื้นฐาน กับกฎหมายสาธารณสุข กานต์ เจิมพวงผล
1.อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 คำสั่งกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ 243/2556 เรื่อง แนวทางการ ปฏิบัติในการพิจารณาคำขอรวมทั้ง เอกสารที่เกี่ยวข้องตาม.
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข เกี่ยวกับการกำหนดและจ่าย ค่าทดแทน (
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง การแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุและการต่ออายุใบรับแจ้งการดำเนินการวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ.
กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งการผลิตเพื่อขาย หรือนำเข้าเพื่อขายเครื่องสำอางควบคุม พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 มิถุนายน 2553.
กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2555) ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 เมษายน 2555.
สำนักงานขนส่งจังหวัดอุบลราชธานี
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
การปฏิบัติงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๑. อำนาจหน้าที่ของ อปท. ๒. หน่วยงานต่าง ๆ ได้ขอรับการสนับสนุน จาก อปท
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กรมการข้าว. พระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ ประชาธิ ปไตย ปกปัก รักษา ประโยช น์ คุ้มครอ งสิทธิ ส่วน บุคคล.
ภารกิจและทิศทางการดำเนินงาน กฎหมายสาธารณสุข ของกรมอนามัย
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนงาน การสอบสวนคดีนอกราชอาณาจักร
ทะเบียนราษฎร.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑
สารบัญญัติ ตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ทะเบียนราษฎร.
ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ
บ้านและทะเบียนบ้าน.
1 เรื่อง หลักเกณฑ์และ เงื่อนไข การ พิจารณาอนุมัติให้ใช้น้ำ กระแสไฟฟ้า หรือสิ่ง สาธารณูปโภคอื่น เพื่อการ จัดสวัสดิการภายในส่วน ราชการ.
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารบัญญัติ ตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 เมธี ชุ่มศิริ ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี

หมวด 9 การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ หมวด 9 การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ

ที่หรือทางสาธารณะ หมายความว่า “สถานที่หรือทางที่มิใช่เป็นของเอกชนและประชาชนสามารถใช้ประโยชน์หรือใช้สัญจรได้” (มาตรา 4) สินค้า มิได้มีความหมายเฉพาะไว้ จึงน่าจะหมายถึง ข้าวของ วัสดุทุกชนิด ที่นำมาขาย/ จำหน่ายได้ ซึ่งรวมทั้งอาหาร น้ำดื่ม น้ำแข็ง ฯลฯ

การควบคุมการจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ ผู้จำหน่ายสินค้าในที่/ ขออนุญาต (ม.41) ชนิด/ประเภทสินค้า ลักษณะการจำหน่าย สถานที่ขาย เงื่อนไขอื่น ๆ เจ้า พนักงาน ท้องถิ่น ถ้าเปลี่ยน แปลง ต้อง ปฏิบัติ ตาม ต้องแจ้ง มีอำนาจ ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น(ม.43) ประกาศเขต (ม.42)

เจ้าพนักงานท้องถิ่น ร่วมกับเจ้า พนักงานจราจร ข้อกำหนดของท้องถิ่น สุขลักษณะเกี่ยวกับ ผู้ขาย/ผู้ช่วยขาย กรรมวิธีการจำหน่าย ทำประกอบ ปรุง เก็บ/สะสม ความสะอาดภาชนะ น้ำใช้ ของใช้ การจัดวาง/การเร่ขาย เวลาจำหน่าย ป้องกันเหตุรำคาญ/โรคติดต่อ ประกาศเขต ห้ามขายหรือซื้อโดยเด็ดขาด ห้ามขายสินค้าบางชนิด ห้ามขายสินค้าตามกำหนด เวลา เขตห้ามขายตามลักษณะ กำหนดเงื่อนไขการจำหน่าย ปิดที่สำนักงานฯ และบริเวณที่กำหนดเป็นเขต และระบุวันบังคับ โดยไม่น้อยกว่า 15 วัน นับแต่วันประกาศ

พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 มาตรา 20 ห้ามมิให้ผู้ใด (1) ปรุงอาหาร ขายหรือจำหน่ายสินค้าบนถนน หรือในสถานสาธารณะ (2) ใช้รถยนต์หรือล้อเลื่อนเป็นที่ปรุงอาหารเพื่อขายหรือจำหน่ายให้แก่ประชาชนบนถนนหรือในสถานสาธารณะ (3) ขายหรือจำหน่ายสินค้าซึ่งบรรทุกบนรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนถนนหรือในสถานสาธารณะ ความในวรรคหนึ่ง มิให้ใช้บังคับ แก่การปรุงอาหารหรือการขายสินค้าตาม (1) หรือ (2) ในถนนส่วนบุคคลหรือในบริเวณที่ จพถ. /พนักงานจนท. ประกาศ ผ่อนผันให้กระทำได้ระหว่างวัน เวลาที่กำหนด ด้วยความเห็นชอบของเจ้าพนักงานจราจร

ประเด็นพิจารณา ทำไงดี.... ถ้าจะให้มีการขายของบนที่หรือทางสาธารณะได้ ..

คำแนะนำของคณะกรรมการสาธารณสุข ฉบับที่ 3/2542 เรื่อง การประกาศเขตควบคุมการจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ ตาม ม. 42 แห่ง พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และ ม. 20 แห่งพ.ร.บ. รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 การประกาศเขตควบคุมการจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะให้ จพถ. ร่วมกับ จพง. จราจร ในท้องถิ่นนั้น ดำเนินการพิจารณาทั้ง เขตห้าม และเขตผ่อนผัน โดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 42 แห่ง พ.ร.บ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และมาตรา 20 แห่ง พ.ร.บ. รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 ควบคู่ในคราวเดียวกัน เพื่อมิให้เกิดปัญหาการโต้แย้งระหว่าง จพง. กับผู้จำหน่ายสินค้าที่มิได้ประกาศห้ามไว้ แต่ จพง. ก็อ้างข้อกฎหมายการรักษาความสะอาดฯ ว่ามิใช่เป็นเขตผ่อนผันเพื่อเอาผิดกับผู้จำหน่ายสินค้านั้นได้ ซึ่งจะทำให้เกิดการบังคับใช้กฎหมายในลักษณะที่ไม่เสมอภาคและเป็นการเลือกปฏิบัติ

ประเด็นพิจารณา กรณี ขายสินค้าบนถนนริมทางหลวง ..... จะทำได้ไหม ตามกฎหมายในหมวดนี้ ราชการส่วนท้องถิ่นจะออกใบอนุญาตให้ผู้ใดจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะตาม ม.41 หรือกำหนดเขตตาม ม.42 สำหรับสถานที่ที่อยู่ในความดูแลของหน่วยราชการอื่นจะต้องให้หน่วยราชการที่มีอำนาจนั้นๆเห็นชอบด้วย โดย - เชิญหัวหน้าหน่วยราชการหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเข้าร่วมเป็นกรรมการในการพิจารณา - หรือ มีหนังสือขอความเห็นชอบจากหน่วยราชการนั้นๆก็ได้

คำแนะนำของคณะกรรมการสาธารณสุข ฉบับที่ 4/2545 เรื่อง การควบคุมการจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ ตาม หมวด 9 แห่ง พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ.2535 สำหรับสถานที่ที่เป็นทางน้ำหรือทางหลวง หรือพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวที่อยู่ในความดูแลของหน่วยราชการอื่น (1) สถานที่หรือทางสาธารณะที่เป็นทางน้ำ/ทางหลวง/พื้นที่แหล่งท่องเที่ยวที่อยู่ในความดูแลของหน่วยราชการใด หน่วยราชการนั้นย่อมมีอำนาจหน้าที่ในการควบคุมดูแลตามวัตถุประสงค์แห่งกฎหมายที่หน่วยงานนั้นรับผิดชอบ (2) กรณีที่สถานที่หรือทางสาธารณะในเขตท้องถิ่นนั้นมีการจำหน่ายสินค้า จะโดยได้รับอนุญาตจากหน่วยราชการที่มีอำนาจในการควบคุมดูแลหรือไม่ก็ตาม ราชการส่วนท้องถิ่นนั้นชอบที่จะใช้อำนาจตาม ม.41 ม.42 และ ม.43 แห่งกฎหมายการสาธารณสุข ในการควบคุมดูแลด้านสุขลักษณะของการจำหน่ายสินค้าดังกล่าวได้ เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองสุขภาพอนามัยของประชาชนในท้องถิ่นเป็นสำคัญ

ทั้งนี้ราชการส่วนท้องถิ่นจะออกใบอนุญาตให้ผู้ใดจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะตามมาตรา 41 หรือกำหนดเขตตามมาตรา 42 สำหรับสถานที่ที่อยู่ในความดูแลของหน่วยราชการอื่นจะต้องให้หน่วยราชการที่มีอำนาจนั้นๆ เห็นชอบด้วย โดย - เชิญหัวหน้าหน่วยราชการหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเข้าร่วมเป็นกรรมการในการพิจารณา - หรือมีหนังสือขอความเห็นชอบจากหน่วยราชการนั้นๆก็ได้

ประเด็นพิจารณา จากกรณีที่ มีกฎหมายให้สถานที่บางจุดขายได้ .. บางจุดขายไม่ได้ .. จะทำอย่างไร และอย่างไร

(1) ราชการส่วนท้องถิ่นควรอาศัย ม. 20 วรรคสอง แห่งกฎหมายพ. ร. บ (1) ราชการส่วนท้องถิ่นควรอาศัย ม.20 วรรคสอง แห่งกฎหมายพ.ร.บ.รักษาความสะอาดฯ และ/หรือ ม.42 แห่งกฎหมาย พ.ร.บ.การสาธารณสุข ประกาศกำหนด เขตผ่อนผันและ/หรือเขตห้ามจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ โดยความเห็นชอบของ จพง.จราจรเสียก่อน ซึ่งในทางปฏิบัติราชการส่วนท้องถิ่นสามารถดำเนินการได้โดยการเชิญ จพง.จราจรเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการในการพิจารณากำหนดเขตดังกล่าว หรือมีหนังสือขอความเห็นชอบก็ได้ (2) เมื่อมีผู้ประกอบการมายื่นขอใบอนุญาตจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ จพถ. จึงจะพิจารณาอนุญาตให้ประกอบการจำหน่ายสินค้า ชนิดหรือประเภทใดๆตามความเหมาะสมสำหรับในเขตผ่อนผันและ/หรือเขตห้ามจำหน่ายสินค้าบางชนิดหรือบางประเภท หรือตามเงื่อนไขใดๆตามที่ราชการส่วนท้องถิ่นได้ประกาศกำหนดเขตดังกล่าวไว้แล้วตามข้อ (1) โดย จพถ. ควรพิจารณาออกใบอนุญาตให้ผู้ประกอบการเป็นรายๆไป

อนึ่ง ในกรณีที่ จพถ. ได้ ออกใบอนุญาต ตาม ม อนึ่ง ในกรณีที่ จพถ. ได้ ออกใบอนุญาต ตาม ม.41 แห่งกฎหมายการสาธารณสุข ให้ขายสินค้าในที่สาธารณะใดแล้ว โดยยังมิได้ประกาศเขตผ่อนผันและ/หรือเขตห้ามจำหน่าย ย่อมไม่มีความชอบธรรมที่จะดำเนินคดีผู้ที่ได้รับใบอนุญาตนั้นในฐานความผิดที่ฝ่าฝืน ม.20 แห่งกฎหมายพ.ร.บ.รักษาความสะอาดฯได้อีก คำแนะนำของคณะกรรมการสาธารณสุข ฉบับที่ 5/2545 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการออกใบอนุญาตจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะตามมาตรา 41 แห่ง พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เพื่อความสอดคล้องกับมาตรา 20 แห่งพ.ร.บ. รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535

กรณีศึกษาจากคำพิพากษาศาลปกครอง ในคดีเกี่ยวกับการจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะตามกฎหมายการสาธารณสุข

การขายในที่ห้ามขาย (ตลาดโบ๊เบ๊) กรณีผู้ค้าฯ ขายในที่หรือทางสาธารณะโดยไม่ได้กำหนดเป็นจุดผ่อนผัน ต่อมาเจ้าพนักงานท้องถิ่นสั่งห้ามขาย กรณีพื้นที่ดังกล่าวไม่ได้เป็นจุดผ่อนผันเป็นการขายโดยฝ่าฝืนกฎหมาย จึงไม่มีสิทธิที่จะขายมาตั้งแต่ต้น กรณีไม่ถือเป็นผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหาย หรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายฯ ไม่มีสิทธิฟ้องคดี แต่หากเคยกำหนดให้เป็นจุดผ่อนผัน และได้รับอนุญาตให้จำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ ถ้าต่อมามีการยกเลิกจุดผ่อนผัน หรือห้ามขาย กรณีถือว่าเป็นผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายแล้ว นำคดีมาฟ้องศาลปกครองได้ตามเงื่อนไขแห่งการฟ้องคดี (คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. ๑๙๘/๒๕๕๑)

กรณีศึกษาอื่น ๆ คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๐/๒๕๔๙ ระหว่าง นายนเรศน์ และนายกเทศมนตรีตำบลพนมสารคาม ที่ ๑ กับพวกรวม ๒ คน กรณีกำหนดจุดผ่อนผันบังหน้าร้าน และออกใบอนุญาตให้จำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ (เนื้อโค) เห็นว่า มีอำนาจตามกฎหมาย (กฎหมายเทศบาล กฎหมายการสาธารณสุข และกฎหมายการรักษาความสะอาดฯ) ในการกำหนดจุดผ่อนผัน และออกใบอนุญาตให้จำหน่ายสินค้าฯ ได้โดยไม่จำเป็นต้องได้รับความยินยอมจากผู้ฟ้องคดี และเป็นการกำหนดในลักษณะทั่วไปมิได้ผ่อนผันเฉพาะหน้าร้านผู้ฟ้องคดี ซึ่งผู้ฟ้องคดียังคงประกอบกิจการค้าขายในอาคารได้ตามปกติ ไม่ทำให้เดือดร้อนเสียหายหรือไม่ได้รับความสะดวกอันเป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้ฟ้องคดี คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๒๗๑/๒๕๕๐ ระหว่าง น.ส. นงลักษณ์ และ ทม.โพธาราม กรณีกำหนดจุดผ่อนผัน จะต้องไม่ก่อให้เกิดกระทบต่อผู้อื่นจนเกินควร

แผงลอยบังหน้าร้าน (ทน.นครศรีธรรมราช) ผู้ฟ้องคดีประกอบกิจการจำหน่ายเครื่องสุขภัณฑ์ได้รับความเดือดร้อนเสียหายเนื่องจากเทศบาลปล่อยให้มีการจอดรถเข็นและแผงลอยขายอาหารและอื่น ๆ บริเวณสองฝั่งถนน บังหน้าร้านตน เป็นเหตุให้ผู้ที่จะซื้อสินค้าผู้ฟ้องคดีไม่ได้รับความสะดวกและไม่มีที่จอดรถ จึงไม่มาซื้อสินค้าเป็นเหตุให้ขาดรายได้จำนวนมาก เป็นมานานนับ ๑๐ ปี เคยมีหนังสือร้องเรียนเทศบาลแล้วก็ไม่ได้รับการแก้ไข จึงนำคดีมาฟ้องขอให้เทศบาลมีคำสั่งให้ผู้ค้าฯ ย้ายไปที่อื่นแทนการเบียดเบียนพื้นที่ผิวจราจรอันเป็นสมบัติส่วนรวม เทศบาลอ้างว่า เนื่องจากชาวบ้านจำนวนมากมีฐานะยากจน ไม่มีรายได้ จึงผ่อนผันให้ทำการค้าฯ โดยมิได้ละเลยแต่อย่างใด เมื่อได้รับคำร้องเรียนก็ได้กวดขันจัดระเบียบให้มีการแบ่งช่องทางชัดเจน และให้ผู้ค้าฯ ทำความสะอาดพื้นที่ทุกวัน

มีประเด็นต้องพิจารณาว่าเทศบาลละเลยต่อหน้าที่ฯ หรือไม่ เห็นว่า พรบ.รักษาความสะอาดฯ มาตรา ๒๐ กำหนดห้ามมิให้ผู้ใดปรุงอาหาร ขายหรือจำหน่ายสินค้าบนถนน หรือในสถานสาธารณะ แต่ไม่ห้ามในถนน ส่วนบุคคล หรือในบริเวณที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ประกาศผ่อนผันให้กระทำได้ในระหว่างวัน เวลาที่กำหนดด้วยความเห็นชอบของเจ้าพนักงานจราจร และ มาตรา ๔๔ กำหนดว่า นอกจากอำนาจหน้าที่ที่ได้บัญญัติไว้ใน พรบ. นี้ ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นและพนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) โฆษณาให้ประชาชนได้ทราบถึงหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติตาม พรบ. นี้ (๒) สอดส่องและกวดขันไม่ให้มีการฝ่าฝืน พรบ. นี้ โดยเคร่งครัด (๓) ตักเตือนผู้กระทำความผิด หรือสั่งให้ผู้กระทำความผิดแก้ไขหรือขจัดความสกปรกหรือความไม่เป็นระเบียบหรือความไม่เรียบร้อยให้หมดไป หรือ (๔) จับกุมผู้กระทำความผิดซึ่งไม่เชื่อฟังคำตักเตือนและดำเนินคดีตาม พรบ. นี้

คำพิพากษาศาลปกครองกลางที่ ๗๘/๒๕๔๖ เมื่อบนถนนสองฟากถนนมีผู้ค้าฯ ตั้งแผงลอยและรถเข็นขายอาหารและอื่น ๆ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๒๐ เมื่อผู้ฟ้องคดีมีหนังสือร้องเรียน เทศบาลในฐานะเจ้าพนักงานท้องถิ่นจึงมีหน้าที่ที่จะต้องดำเนินการตามมาตรา ๔๔ การที่เทศบาลผ่อนผันให้มีการตั้งแผงลอยและรถเข็นขายอาหารฯ ตลอดมา โดยไม่ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติ ทั้งที่มีอำนาจตามมาตรา ๒๐ ที่จะออกประกาศผ่อนผันโดยถูกต้องตามกฎหมายได้ แต่เทศบาลก็หาได้ดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดไม่ กรณีจึงฟังว่าเทศบาลละเลยต่อหน้าที่ตามที่ พรบ. รักษาความสะอาดฯ กำหนดให้ต้องปฏิบัติ จึงพิพากษาให้เทศบาลดำเนินการตามมาตรา ๔๔ ภายใน ๖๐ วัน (ผู้ค้าฯ ต้องได้รับอนุญาตตามกฎหมายสาธารณสุขด้วย) คำพิพากษาศาลปกครองกลางที่ ๗๘/๒๕๔๖

หวังว่าทุกท่านคงสามารถเดินบนทางเท้า ได้สบายๆ ตามนี้..... สวัสดี...