คำศัพท์ทางพระพุทธศาสนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศิลปหัตกรรมนักเรียน ปี2552 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครปฐมเขต 2
Advertisements

เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
โดย อาจารย์วารุณี ถีระแก้ว โรงเรียนวัดไร่ขิง จังหวัดนครปฐม
103 หมู่ 2 ตำบลคลองโยง อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
คำปรีชาญาณของคุณแม่เทเรซา
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
สื่อประกอบการเรียนรู้
รักทางพุทธศาสนา.
บทที่๑ กำเนิดพระพุทธศาสนา
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
การดื่มแอลกอฮอล์และการบริหารจิตและการเจริญปัญญา
หลักการดำเนินชีวิตอย่างปลอดภัยโดย สัปปุริสธรรม 7
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
พระพุทธเจ้าและกำเนิดพระพุทธศาสนา
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
กระบวนการฝึกวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ
การใช้สมอง #1 อ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร.
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
วิปัสสนาญาณ 9.
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรมของครู
สันโดษ... เคล็ดลับของความสุข
การพัฒนาบุคลิกภาพและการสมาคม
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
ประเพณีชักพระ.
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
แนวทางชีวิต แนวทางชีวิต ข้อพึงปฏิบัติ ข้อพึงปฏิบัติ ♫ Turn on your speakers! ♫ Turn on your speakers! CLICK TO ADVANCE SLIDES.
SONIDO Y AUTOMATICO หากเราไม่ชอบ ชีวิตที่เป็นอยู่
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
คนตัดไม้.
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
การบริหารจิต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
ร่มโพธิ์ร่มไทร. ร่มโพธิ์ร่มไทร คำว่า ร่มโพธิ์ร่มไทร ประกอบด้วยคำว่า ร่ม โพธิ์ และ ไทร คำว่า ร่มโพธิ์ร่มไทร ประกอบด้วยคำว่า ร่ม โพธิ์ และ ไทร. คำว่า ร่ม เป็นคำเรียกสิ่งที่ใช้กางออกกันแดดกันฝน.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ
บทอ่านจากจดหมายนักบุญเปาโลถึงชาวโครินทร์ฉบับที่ 1
การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์
การรู้สัจธรรมของชีวิต
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
อิทธิบาท4 เพื่อพัฒนาอารมณ์และจิตใจ
เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสว่าง โรงเรียนวังไกลกังวล
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
เรื่อง ประวัติและความสำคัญ ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
อริยสัจ 4.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปของการการจัดสวน
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
ทุกข์ - ธรรมที่ควรรู้ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ความเศร้าโศกเสียใจ หรือสภาพที่มนุษย์ทนอยู่ได้อยาก เป็นสภาวะทางธรรมชาติที่ควรกำหนดรู้ หัวข้อธรรมที่สนับสนุนในการศึกษา.
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนากับการจัดระเบียบสังคม
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ประโยชน์ของค่ายประถมศึกษา
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ครูศรีวรรณ ปานสง่า สถาบันทาง สังคม ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำศัพท์ทางพระพุทธศาสนา ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม คำศัพท์ทางพระพุทธศาสนา ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายความหมายของคำศัพท์ทาง พระพุทธศาสนาและนำคำศัพท์ไป ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

คำศัพท์ทางพระพุทธศาสนา ฌาน ญาณ (อ่านว่า ชาน) (อ่านว่า ยาน)

หมายถึง ภาวะที่จิตแน่วแน่ อันเกิดจากการเจริญสมาธิ ฌาน แปลว่า การเพ่ง เป็นการฝึกจิตให้สงบ หมายถึง ภาวะที่จิตแน่วแน่ อันเกิดจากการเจริญสมาธิ

ลักษณะการทำจิต ให้สงบโดยการนั่ง หลับตานิ่ง เช่น พระเข้าฌาน ฤาษีเข้าฌาน

- มีอารมณ์หนึ่งเดียว (เอกัคตา) ฌาน 1. ปฐมฌาน - มีตรึก (วิตก) - มีตรอง (วิจาร) - มีความอิ่มใจ (ปีติ) - มีความสบายใจ (สุข) - มีอารมณ์หนึ่งเดียว (เอกัคตา)

- ละวิตกและวิจารเสียได้ - คงมีแต่ปีติ สุข - เอกัคตา ฌาน 2. ทุติยฌาน - ละวิตกและวิจารเสียได้ - คงมีแต่ปีติ สุข - เอกัคตา

- ละปิติเสียได้ คงมีแต่สุข - เอกัคตา ฌาน 3. ตติยฌาน - ละปิติเสียได้ คงมีแต่สุข - เอกัคตา

มีรูปธรรมเป็นอารมณ์ 4. จตุตถฌาน ละสุขเสียได้ กลายเป็นอุเบกขา คือ เฉย ๆ - เอกัคตา มีรูปธรรมเป็นอารมณ์

ปรีชาหยั่งรู้หรือกำหนดรู้ที่เกิดจาก อำนาจสมาธิ ฌาน ปรีชาหยั่งรู้หรือกำหนดรู้ที่เกิดจาก อำนาจสมาธิ

ความหยั่งรู้เป็นความรู้ที่เกิดขึ้นภายในจิตใจ อย่างถูกต้องความเป็นจริง ญาณ ความหยั่งรู้เป็นความรู้ที่เกิดขึ้นภายในจิตใจ อย่างถูกต้องความเป็นจริง รู้แจ้งเห็นจริง (ญาณทัสสนะ)

อตีตังสญาณ คือปรีชาหยั่งรู้เรื่องราวในอดีต อนาคตังสญาณ คือปรีชาหยั่งรู้เรื่องราวใน อนาคต ปัจจุปปันนังสญาณ คือปรีชาหยั่งรู้เรื่องราว ที่เป็นปัจจุบัน

จริต ความประพฤติ พื้นนิสัย หรือพื้นเพ แห่งจิตของคนทั้งหลาย ที่หนักไป แห่งจิตของคนทั้งหลาย ที่หนักไป ด้านใดด้านหนึ่ง

จริต ความประพฤติ หรือกิริยาอาการ เช่น เสียจริต วิกลจริต

ฉายา ร่มไม้ เงา อาการที่เป็นเงา ๆ ไม่ชัด อาการเคลือบแฝง ร่มไม้ เงา อาการที่เป็นเงา ๆ ไม่ชัด อาการเคลือบแฝง ชื่อที่พระอุปัชฌาย์ ตั้งให้แก่ผู้บวช

ฉายา ชื่อตั้งให้กันเล่น ๆ หรือตามลักษณะ ที่รู้กันในหมู่คณะ

ตัณหา ความทะยานอยาก ปรารถนา ดิ้นรน เสน่หา

ตัณหา ความอยาก