สารบัญญัติ ตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 เมธี ชุ่มศิริ ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
หมวด 4 สุขลักษณะของอาคาร หมวด 4 สุขลักษณะของอาคาร
นิยาม “อาคาร” หมายความวา ตึก บาน เรือน โรง ราน แพ คลัง สินคา สํานักงานหรือสิ่งที่สรางขึ้นอยางอื่น ซึ่ง บุคคลอาจเขาอยูหรือเข้าใชสอยได
ห้ามเจ้าของ / ผู้ครอบครองอาคาร ถ้า ฝ่า ฝืน 1. ทำให้อาคาร/ ส่วน /สิ่งที่ ต่อเนื่องของอาคาร ชำรุดทรุดโทรม สภาพรกรุงรัง (ม.21) ถ้า ฝ่า ฝืน จนอาจเป็น อันตรายต่อสุขภาพ ของผู้อยู่อาศัย /เป็นที่อาศัย ของสัตว์ให้โทษ 2. มีสินค้า/ เครื่องเรือน/ สัมภาระ/ สิ่งของ มากเกินไป/ซับซ้อน กันเกินไป (ม.22) 3. ยอม/จัดให้คน อาศัยอยู่ มากเกินไป (ม.24) ออกคำสั่งให้แก้ไข/เปลี่ยนแปลง/ รื้อถอน/ย้ายหรือจัดเสียใหม่ (ม.23) เจ้าพนักงานท้องถิ่น ถ้าไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง มีอำนาจเข้าดำเนินการได้ โดยเจ้าของเป็นผู้เสียค่าใช้จ่าย
มาตรา 5 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และใหมีอํานาจแตงตั้งเจาพนักงานสาธารณสุขกับออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมหรือยกเวนคาธรรมเนียมและกําหนดกิจการอื่ืนเื่พื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได มาตรา 24 เพื่อประโยชนในการควบคุมมิใหอาคารใดมีคนอยูมาก เกินไปจนอาจเป็นอันตรายตอสุขภาพของผูอยูในอาคารนั้น ให รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศในราช กิจจานุเบกษากําหนดจํานวนคนตอจํานวนพื้นที่ของอาคารที่ถือว ามีคนอยูมากเกินไป ทั้งนี้โดยคํานึงถึงสภาพความเจริญจํานวน ประชากรและยานชุมชนของแตละทองถิ่น เมื่อมีประกาศของรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งแลว หามมิใหเจาของ หรือผูครอบครองอาคารตามประกาศนั้นยอมหรือจัดใหอาคารของ ตนมีคนอยูเกินจํานวนที่รัฐมนตรีกําหนด
การควบคุม ตาม ม.24 รัฐมนตรี ออกประกาศ กำหนดจำนวนคนต่อ พื้นที่ของอาคาร โดยคำแนะนำของ คณะ กก.สธ. รัฐมนตรี ออกประกาศ 1. อาคารที่พักอาศัย (ประกาศฯ 6/2538) 2. อาคารที่พักของคนงานก่อสร้าง (ประกาศฯ 7/2538) 3. อาคารโรงงาน (ประกาศฯ 8/2538) กำหนดจำนวนคนต่อ พื้นที่ของอาคาร ที่ถือว่ามีคนอยู่มากเกินไป พักอาศัย/ปฏิบัติงานมากกว่า 1 คน ต่อพื้นที่ 3 ตารางเมตร
ประเด็นพิจารณา กรณี บ้านเช่า ..... ทำไงดี ผู้เป็นเจ้าของบ้าน ผู้เช่า = ผู้ครอบครอง
ประเด็นพิจารณา กรณี ที่อยู่อาศัยชั่วคราวของคนงานก่อสร้าง ..... จะเป็นอย่างไร และปฏิบัติอย่างไร ผู้รับเหมา จัดให้มีที่รองรับสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย จัดให้มีรางระบายน้ำ จัดให้คนงานอยู่อย่างไม่แออัด
หมวด 6 การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ หมวด 6 การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์
เรื่องที่อาจจะพบได้....
วัตถุประสงค์ เพื่อประโยชน์ในการรักษาสภาวะ ความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดำรงชีพ ของประชาชนในท้องถิ่น หรือ เพื่อป้องกันอันตรายจากเชื้อโรคที่ เกิดจากสัตว์
ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น ราชการ ส่วนท้องถิ่น (ม. 29) ราชการ ส่วนท้องถิ่น กำหนดให้ส่วนใดของพื้นที่หรือทั้งหมด เป็นเขตควบคุมการเลี้ยง /ปล่อยสัตว์ เขตห้ามเลี้ยง/ปล่อยสัตว์บางชนิดโดยเด็ดขาด เขตห้ามเลี้ยง/ปล่อยสัตว์บางชนิด เกินกว่าจำนวน ที่กำหนด 3) เขตให้เลี้ยงหรือปล่อยสัตว์บางชนิด โดย ต้องอยู่ ภายใต้มาตรการอย่างใดอย่างหนึ่ง
เขตควบคุมซึ่งเป็นที่หรือทางสาธารณะ (ม.30) จพง.ท้องถิ่นมีอำนาจกักสัตว์ ที่ไม่ปรากฏเจ้าของได้เป็นเวลา 30 วัน เจ้าของมารับ ภายใน 30 วัน ไม่มีผู้ใด มารับ เกิดอันตรายต่อสัตว์อื่น/ เสียค่าใช้จ่ายเกินสมควร กรณีที่สัตว์ นั้นเป็น โรคติดต่อ เจ้าของเสีย * ค่าเลี้ยงดู * ค่าปรับ ตกเป็นของ ราชการ ส่วนท้องถิ่น ขาย/ขายทอด ตลาดได้ ทำลายหรือจัดการ ตามสมควร หักเงินค่าใช้จ่าย เก็บเงินส่วนเหลือเป็นเวลา 30 วัน แทนสัตว์ มีเจ้าของมารับ ให้มอบเงิน ส่วนที่เหลือจากค่าปรับ ไม่มีผู้ใดมารับให้เงินนั้นตกเป็น ของราชการส่วนท้องถิ่น
ประเด็นพิจารณา กรณี เลี้ยงไก่ ..... ไม่ให้เกิดปัญหาเหตุรำคาญ กรณี เลี้ยงสุกร ..... ทำให้เป็นไปตามกฎหมายในหมวดนี้ กรณี เลี้ยงสุนัข ..... จะทำให้ไม่เกิดโรคอย่างไร
ขอให้พบแต่เรื่องหมูๆ นะครับ.... สวัสดี....