LI 395 บทที่ 3 หัวข้อการเรียน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง “ทบทวนการสรรหาบุคลากร ให้มีประสิทธิภาพ”
Advertisements

สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
บทที่ 1 “จำนวนนับ 1 ถึง 5 และ 0”
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การใส่กรอบให้ข้อความ ใน Word ๒๐๑๐
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ระบบ เสียง ในภาษาไทย เสียง เกิดจากลมที่เคลื่อนตัวจากปอดผ่านหลอดลม ลำคอ กล่องเสียง ช่องปาก จมูก เพดาน ลิ้น ฟัน ริมฝีปาก.
CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI
Adult Basic Life Support
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
เรื่องความรู้ทางภาษา
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
โรงเรียนมหาชนะชัยวิทยาคม อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
คำคล้องจอง หนู ปู ดูรูงู ปูนา ขาเก
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สื่อการสอน เรื่อง เรียนรู้ตัวเรา
รูปแบบการจัดวางสามารถปรับได้ตามความสะดวก -แบบตัวอักษรใช้ THsarabunPSK
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
การเพิ่มคำ.
สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
ตัวเลขไทย.
การอ่านออกเสียง ความมุ่งหมายในการอ่านออกเสียง
คำวิเศษณ์.
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
โปรแกรม Microsoft Access
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครู.
กระบวนวิชา TL 214 การพัฒนาทักษะภาษาไทยรายกรณี
ภาษาไทย เสนอ อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ จัดทำโดย
วิชาภาษาไทย เรื่อง คำพ้อง นำเสนอโดย กลุ่ม ๑.
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา
ขั้นตอนในการประเมิน ขีดความสามารถ/ขีดสมรรถนะ ของข้าราชการ ทร.
๖.พยัญชนะท้ายพยางค์ มาตรากบ หรือแม่กบ.
๒.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กก”
คำควบกล้ำ โดย นางอนงค์นาฏ ลาลุน ครู คศ.1 โรงเรียนบ้านโป่งกลางน้ำ
อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แก้ไขอย่างไรดี
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
ความรู้เกี่ยวกับตัวเรา
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
Lesson 4 ไวยากรณ์และการอ่าน
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๒ การเรียงภาพหลายภาพเป็นภาพ เดียวกัน ๑. เข้าใช้งานชุดคำสั่ง ADOBE PHOTOSHOP รุ่น ๕. ๕.
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ ( ภาษาบาลี - ภาษาสันสกฤต )
คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๓ ENL 3701
ENL 3701 Unit 2 การอ่านคืออะไร
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97 (บ้านบางบอน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
แผนการจัดการเรียนรู้
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
Workshop วิชาการถ่ายทอดความรู้วิทยากร ตาม worksheet 1-5.
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ศาสนายิว ก. ความหมาย ๑. ยูดาร์ ภาษาอังกฤษว่า Judalism กรีกว่า Judai
สัทศาสตร์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

LI 395 บทที่ 3 หัวข้อการเรียน

เสียงของภาษาอังกฤษและการอ่าน The Sounds of English ๑. ความรู้ทางสัทวิทยาที่ใช้เป็นพื้นฐานในการอ่าน สัทวิทยา Phonology ๑. การออกเสียงในภาษา Phonetics ๒. การศึกษาระบบของเสียง Phonemics

การออกเสียงในภาษาอังกฤษ สัทศาสตร์ Phonetics ๑. การศึกษาคุณสมบัติของเสียง กลสัทศาสตร์ หรือ นินาทสัทศาสตร์ Acoustic Phonetics ๒. การศึกษาเกี่ยวกับอวัยวะในการออกเสียง Articulatory Phonetics

Articulatory Phonetics ทางเดินของเสียง (Vocal Tracts) ฐานกรณ์ของเสียง (Place of Articulation) ประเภทของการออกเสียง (Manner of Articulation)

ทางเดินของเสียง (Vocal Tracts) ๑. เส้นเสียง (Vocal cords) ๗. ลิ้น (Tongue) ๒. กล่องเสียง (Larynx) ๘. ฟัน (Teeth) ๓. ช่องคอหอย (Glottis) ๙. ริมฝีปาก (Lips) ๔. ช่องคอ (Pharynx) ๑๐. ช่องจมูก (Nasal ๕. ลิ้นไก่ (Uvula) cavity) ๖. ช่องปาก (Oral cavity)

ทิศทางเดินของเสียง การพูดออกเสียงในภาษา อาศัย ทิศทางลมออก (Egression) ทิศทางลมเข้า (Ingression)

ฐานกรณ์ของเสียง (Place of Articulation) ๑. อวัยวะที่เคลื่อนที่ไม่ได้ เช่น เพดานปาก ฟัน ๒. อวัยวะที่เคลื่อนที่ได้ เช่น ริมฝีปาก ลิ้นและลิ้นไก่

ประเภทของการออกเสียง (Manners of Articulation) เสียงหยุด (Stop) ๘. เสียงม้วนลิ้น(Retroflex) เสียงแทรก (Fricative) ๙.เสียงเลื่อน (Glide) เสียงหยุดแทรก (Affricate) เสียงนาสิก (Nasal) เสียงลอดข้าง (Lateral) เสียงลิ้นรัว (Trill) ๗. เสียงลิ้นกระดก ( Flap)

เสียงพยัญชนะและเสียงสระ (Consonant &Vowel Sounds) เสียงพยัญชนะ (Consonant sounds) เป็นเสียงที่ผ่านออกมาทางช่องปากซึ่งมีฐานกรณ์ต่างๆสกัดกั้น ทำให้เกิดเสียงต่างๆกัน เสียงสระ (Vowel sounds) เป็นเสียงที่ผ่านออกมาทางช่องปากที่ไม่มีอะไรปิดกั้นทางเดินของอากาศ บางครั้งมีเสียงเป็นทั้งกึ่งสระและพยัญชนะ (Semi-Vowel) บางครั้งเรียกว่าเป็นเสียงเลื่อน (Glides) เช่นเสียง w และ y

เสียงสระ (Vowel) การอธิบายเสียงสระอาศัยตำแหน่งของลิ้น และลักษณะของปาก ๓ ลักษณะ คือ ๑. ระดับลิ้นสูงมาก สูง และปานกลาง (ตามระดับปากแคบ กึ่งแคบ กึ่งกว้าง และกว้าง) ๒. ลิ้นส่วนที่ใช้ออกเสียง ส่วนหน้า ส่วนกลาง และ ส่วนหลัง ๓. ลักษณะของริมฝีปาก ยืดกว้าง แคบ ห่อกลม

สัญลักษณ์แทนเสียง (Phonetic Symbols) นักสัทศาสตร์ได้คิดสัญลักษณ์ขึ้นมาชุดหนึ่งเพื่อใช้เป็นตัวแทนบ่งถึงฐานกรณ์และประเภทของเสียงในเวลาเดียวกันได้ สัญลักษณ์ดังกล่าวนี้ใช้ได้กับทุกๆภาษา ซึ่งสมาคมสัทศาสตร์นานาชาติเป็นผู้กำหนดขึ้น เรียกว่า International Phonetic Association เรียกย่อๆว่า IPA

๑.๒ ระบบของเสียง (Phonemics) ๑. หน่วยเสียง ( Phonemes) ๒. หน่วยเสียงย่อย ( Allophones) ๓. เสียงแปร (Neutralization) ๔. ทำนองประโยค (Intonation) ๕. การกลมกลืนของเสียง (Assimilation)

๑. หน่วยเสียง (Phonemes) ลักษณะของหน่วยเสียง เสียงที่ใช้สื่อความหมายได้หรือทำให้คำต่างกัน สัญลักษณ์ที่ใช้แสดงหน่วยเสียง / / แทน [ ] ซึ่งแสดงถึงตัวอักษรแทนเสียง (Phonetic symbol) ตัวอย่าง red [red] led [led] /r/ ~ /l/ fat ~ vat, fine ~ vine /f/ ~ /v/ /f/[ -voice, +labiodental, + fricative ] /v/[+voice, +labiodental, + fricative]

๒. หน่วยเสียงย่อย (Allophones) การออกเสียงของหน่วยเสียงใดหน่วยเสียงหนึ่งซึ่งอาจจะออกเสียงได้อย่างเดียวหรือหลายอย่าง โดยเปลี่ยนตามตำแหน่งของเสียง ตัวอย่าง pin, pass [p] /ph/ drip, lip [p] /p]] spy, speak [p] /p/ tar [t] /th/ , star [t] /t/ writer [t] /D/ eighth [t] /t/ allophones /t/, /D/, /th/, /t/

๓. เสียงแปร (Neutralization) หน่วยเสียงสองหรือสามตัวซึ่งปกติแล้วมีความแตกต่างกันแต่เมื่อปรากฏในสิ่งแวดล้อมใดแวดล้อมหนึ่ง หน่วยเสียงเหล่านี้จะไม่แตกต่างกัน ตัวอย่าง wetting ~ wedding [t], [d] /d/ กาบ บาท บาก /-p]/, /-t]/,/-k]/ ปีน ทาง กิน /p/, /t/, /g/

กฏการออกเสียงและการอ่าน ๑. กฎการซ้ำเสียงในหน่วย (Segment redundancy rules) แสดงความเปลี่ยนแปลงของเสียงที่ทำนายได้ เช่นเดียวกับกฎหน่วยเสียงย่อย (Allophone) เช่น เสียง [ph] ใน pit เปลี่ยนเป็น [p] ในคำว่า spit เสียง [th] ใน tar เปลี่ยนเป็น [t] ในคำว่า star เป็นเพราะมีการซ้ำเสียงในหน่วย หรืออิทธิพลของเสียงที่เกิดก่อน

๒. กฎการซ้ำเสียงต่อเนื่อง (Sequence and redundancy rules) อธิบายลักษณะของเสียงที่เกิดขึ้นต่อเนื่องในภาษาใดภาษาหนึ่ง ในภาษาอังกฤษ ถ้ามีเสียงควบกล้ำ ๓ เสียง เสียงแรกเป็น S เสียงที่สองจะเป็นเสียงหยุด p, t,หรือ k เสียงสุดท้ายจะเป็นเสียง l หรือ r เช่น split, scrat, street, etc. แต่ถ้าออกเสียงเป็น Fplot , Psrot จะไม่ใช่คำใน ภาษาอังกฤษ

๓. กฎหน่วยเสียงของหน่วยคำ (Morphophonemic rules) อธิบายการสับเปลี่ยนของเสียงในคำอย่างมีระบบ เช่น [ay] เป็น [i] devine เป็น devinity line linear [ey] เป็น [a] profane profanity [iy] [e] serene serenity [s] [k] criticism critical [j] [g] regid regor [s] เป็น [z] books เป็น dogs, bugs การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เป็นอิทธิพลของการเปลี่ยนเสียงสระและพยัญชนะในพยางค์

ความสำคัญของระบบเสียงในภาษาต่อความสำเร็จในการเรียนรู้การอ่าน ผลการวิจัยเกี่ยวกับเรื่องเสียงมีอิทธิพลต่อการอ่านคือ ๑. กฎการออกเสียงเกิดขึ้นจริงสำหรับผู้พูดบางคน ๒. เด็กอายุ ๖ - ๗ ปี จำเป็นต้องรู้เรื่องการออกเสียงในระยะเข้าเรียนใหม่ๆ ๓. กฎการออกเสียงช่วยให้สะกดคำในภาษาอังกฤษได้ ดีขึ้น