ดาวเสาร์ (Saturn).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
Advertisements

เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
ความสว่างและอันดับความสว่างของดาวฤกษ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
(Structure of the Earth)
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
ภาพดวงดาวและกาแล็กซี่
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
เส้นสุริยวิถีเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตรฟ้า ทำให้เรามองเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น - ตก ค่อนไปทางเหนือหรือใต้ในรอบปี
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ระบบสุริยะ (Solar System).
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
ดวงอาทิตย์ The Sun.
Clouds & Radiation.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
หมอก  หมอก (Fog) หมายถึงเมฆที่เกิดใกล้พื้นดิน หรือหมายถึง ไอน้ำซึ่งได้กลั่นตัวจนเป็นเม็ดละอองน้ำที่เห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบาล่องลอยอยู่ในอากาศ การเกิดหมอก.
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
คำชี้แจง สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เทห์วัตถุในระบบสุริยะ
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
วิชา วิทยาศาสตร์ เลือกเสรี สื่อประสม จัดทำโดย
กาแล็กซีและเอกภพ.
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
เทคนิคการถ่ายภาพ.
โลก (Earth).
ปริศนาคำทายวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 จักรวาลและอวกาศ
ยูเรนัส (Uranus).
ดวงจันทร์ (Moon).
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
วิทยาศาสตร์ Next.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
โจฮานเนส เคปเลอร์ (Johannes Kepler) กฏข้อที่ 1: ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี โดยมี ดวงอาทิตย์อยู่ที่โฟกัสจุดหนึ่ง กฏข้อที่ 2: เส้นตรงที่โยงระหว่างดาวเคราะห์กับดวงอาทิตย์
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ระบบสุริยะ จักรวาล.
โลกและสัณฐานของโลก.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดาวเสาร์ (Saturn)

ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นดวงที่หกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสอง

ในตำนานของชาวโรมัน Saturn เป็นเทพแห่งการเกษตร หรือในตำนานของกรีกเรียกว่า Cronus

ดาวเสาร์เป็นที่รู้จักตั้งแต่ช่วงก่อนประวัติศาสตร์ Galileo เริ่มสังเกตเป็นครั้งแรกโดยใช้กล้องโทรทรรศน์ในปี 1610 วงแหวนของดาวเสาร์เป็นลักษณะเฉพาะที่รู้จักกันดีในระบบสุริยะจนกระทั่ง ปี 1977 ถึงได้มีการค้นพบวงแหวนของดาวยูเรนัส ดาวพฤหัส และดาวเนปจูน

ดาวเสาร์ดูค่อนข้างแบนเมื่อมองจากกล้องโทรทรรศน์ขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางตามแนวศูนย์สูตรและตามแนวขั้วต่างกันประมาณ 10% (120,536 km vs 108728 km) ซึ่งเป็นผลเนื่องจากการหมุนอย่างรวดเร็วและสถานะที่เป็นของเหลว

ดาวเสาร์หมุนรอบตัวเองใช้เวลา 10 ชั่วโมง 39 นาที ดาวกลุ่มก๊าซทั้งหลายก็มีลักษณะค่อนข้างแบนเช่นกัน แต่ไม่มากเท่ากับที่ดาวเสาร์เป็น

ดาวเสาร์เป็นดาวที่มีความหนาแน่นน้อย มีค่าความถ่วงจำเพาะประมาณ 0 ดาวเสาร์เป็นดาวที่มีความหนาแน่นน้อย มีค่าความถ่วงจำเพาะประมาณ 0.7 ซึ่งน้อยกว่าน้ำ

ดาวเสาร์ประกอบด้วยไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% มีร่องรอยของน้ำ มีเทน แอมโมเนีย และ “หิน” ซึ่งมีส่วนประกอบคล้ายกับดาวพฤหัส และเนบิวลาเริ่มแรก

โครงสร้างภายในดาวเสาร์มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัส ซึ่งมีแกนกลางเป็นหิน มีชั้นของ liquid metallic hydrogen และชั้นของ molecule hydrogen และพบร่องรอยของน้ำแข็ง

ที่แกนกลางของดาวเสาร์มีอุณหภูมิสูงประมาณ 12,000 K ดาวเสาร์ปลดปล่อยพลังงานสู่จักรวาลมากกว่าพลังงานที่ได้รับจากดวงอาทิตย์ พลังงานส่วนเกินนี้ได้จากกระบวนการ Kelvin-Helmholtz เช่นเดียวกับทีเกิดในดาวพฤหัส แต่พลังงานนี้ไม่พอที่จะทำให้ดาวเสาร์เกิดการเรืองแสง ดังนั้นจึงต้องมีกระบวนการซึ่งอาจเกิดจากฝนฮีเลียมที่เกิดในดาวเสาร์

แถบสีที่สังเกตเห็นได้บนดาวพฤหัสก็พบได้บนดาวเสาร์ แต่มีความเลือนลางมากกว่า แต่มีความกว้างมากอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร ยังพบลักษณะคล้ายจุดแดงยักษ์และลักษณะอื่นๆบนดาวเสาร์ที่คล้ายกับที่พบบนดาวพฤหัส

วงแหวน 2 วง (A และ B) และ วงแหวนจางๆอีก 1 วง (C) สามารถสังเกตได้จากบนพื้นโลก ช่องว่างระหว่างวงแหวน A และ B เรียกว่า Casini division และช่องว่างจางๆที่ส่วนนอกของวงแหวน A ที่เรียกว่า Encke division ภาพถ่ายที่ได้จากยาน Voyager แสดงให้เห็นวงแหวนจางๆอีก 4 วง วงแหวนของดาวเสาร์ซึ่งไม่เหมือนวงแหวนของดาวเคราะห์อื่นๆเพราะมีความสว่างมาก

วงแหวนที่ล้อมรอบดาวเสาร์ทำให้ดาวเสาร์เป็นดาวที่สวยที่สุดดวงหนึ่งในระบบสุริยะ ประกอบด้วยชิ้นส่วนขนาดเล็กที่เป็นอิสระล่องลอยอยู่ในวงโคจร วัตถุเหล่านี้มีขนาดตั้งแต่ระดับเซ็นติเมตรจนถึงหลายเมตร และบางชิ้นมีขนาดสองสามกิโลเมตร

วงแหวนของดาวเสาร์มีความหนาบางมากเมื่อเทียบกับเส้นผ่าศูนย์กลาง วงแหวนมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 250,000 กิโลเมตร แต่มีความหนาเพียง 1.5 กิโลเมตร วงแหวนเหล่านี้ประกอบด้วยวัตถุจำนวนไม่มากนัก ถ้ารวมวัตถุที่ประกอบขึ้นเป็นวงแหวนจะได้วัตถุที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 100 กิโลเมตร

วงแหวนประกอบด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ และบางส่วนที่เป็นหินที่มีน้ำแข็งหุ้มอยู่

วงแหวน F ซึ่งเป็นวงแหวนชั้นนอกสุด ยังประกอบด้วยวงแหวนขนาดเล็กอีกหลายวง

จุดกำเนิดของวงแหวนยังไม่เป็นที่ทราบกัน แต่คาดว่าน่าจะมีการกำเนิดในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน คือเป็นชิ้นส่วนที่ได้จากการแตกของดาวบริวารขนาดใหญ่ที่ถูกชนด้วยอุกาบาตหรือดาวหาง

ในยามค่ำคืนบนท้องฟ้า ดาวเสาร์สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ถึงแม้ว่าดาวเสาร์จะไม่สว่างไสวเหมือนดาวพฤหัส แต่ก็อาจสังเกตเห็นได้จากการที่ดาวเสาร์ไม่มีแสงกระพริบเหมือนดวงดาวอื่นๆในท้องฟ้า วงแหวนและดาวบริวารสามารมองเห็นได้โดยใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาดเล็ก

ดาวเสาร์มีดาวบริวาร 18 ดวง ซึ่งมากที่สุดในดาวเคราะห์ทั้งหลายในระบบสุริยะ และในปี 1995 นักวิทยาศาสตร์ใช้กล้องโทรทรรศน์ Hubble พบวัตถุ 4 ชิ้นที่คาดว่าอาจเป็นบริวารใหม่ของดาวเสาร์