รสในวรรณคดี พิโรธวาทัง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การแต่งกลอน.
Advertisements

การพูด.
บทเรียนโปรแกรม Power Point
ชีวิตคืออะไร ? ชีวิตตามสภาพของมันเอง ขันธ์ 5 เป็นส่วนประกอบของชีวิต
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
วิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
การเพิ่มคำ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
" ประวัตินาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะการละครฟ้อนรำและดนตรีอันมีคุณสมบัติตามคัมภีร์นาฏะหรือนาฏยะ กำหนดว่า ต้องประกอบไปด้วยศิลปะ 3 ประการ คือ การฟ้อนรำ การดนตรี
การใช้สำนวนเปรียบเทียบ คำพังเพย สุภาษิต โดย มิส.สุพรรณี ทองสวัสดิ์
คำวิเศษณ์.
ความหมาย ขอบเขต กำเนิดนาฏกรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์
ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ธุรกิจ จดหมาย.
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
บทนำ บทที่ 1.
บทที่ 3 อุดมคติของชีวิต
ทำไมคนจึงถือตน หรือยกตน
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ภาษาวิทยุกระจายเสียง
ผมมี..ภรรยา 4 คน.
มุมมองเกี่ยวกับ “ความรัก”
บทเรียนสำเร็จรูป สำนวน คำพังเพย สุภาษิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑.
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
รสวรรณกรรมสันสกฤต ๙ รส.
ความหมายของการวิจารณ์
แก่นเรื่อง.
บทอ่านจากจดหมายนักบุญเปาโลถึงชาวโครินทร์ฉบับที่ 1
โครงเรื่อง.
สนุกกับภาษาไทย โดย กลุ่มสาระการเรียนรู้
ประเภทของวรรณกรรม.
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
พระเวสสันดรชาดก.
บทบาทสมมติ (Role Playing)
พิโรธวาทัง.
การอ่านเชิงวิเคราะห์
เสาวรจนี.
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
จัดทำโดย : จันทรัช พลตะขบ : นพรัตน์ พลตะขบ สอนโดย : ครูพนิดา กำลา
 มาจากภาษาอังกฤษว่า Literature เช่นเดียวกับวรรณกรรม สำหรับใน ภาษาไทยนั้นมีการใช้คำว่า " วรรณคดี " ก่อนภายหลังจึงได้เกิดมีคำว่า " วรรณกรรม " ขึ้น  คำว่า.
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
ฉากและบรรยากาศ ในวรรณคดี
องค์ประกอบของบทละคร.
ความหมายของการวิจารณ์
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
สัลลาปังคพิไสย.
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
บานไม้โทบ้าน.
อริยสัจ 4.
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
สำนวน สุภาษิต คำพังเพย
ทุกข์ - ธรรมที่ควรรู้ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ความเศร้าโศกเสียใจ หรือสภาพที่มนุษย์ทนอยู่ได้อยาก เป็นสภาวะทางธรรมชาติที่ควรกำหนดรู้ หัวข้อธรรมที่สนับสนุนในการศึกษา.
การใช้ทักษะในการพูด ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพูด ผู้พูด สื่อ สาร
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
สัลปังคพิสัย.
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รสในวรรณคดี พิโรธวาทัง

รสในวรรณคดี รส ในความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ หมายถึง ลักษณะที่รู้สึกด้วยลิ้นว่ามีรสเปรี้ยวหรือหวาน เป็นต้น แต่รสในความหมายทางการประพันธ์ หมายถึง อารมณ์ สัมผัส รับรู้ด้วยใจ เช่นรสเสียง รสถ้อยคำ สัมผัสคำ ฯลฯ เกิดจากจังหวะของวรรคตอนในการอ่านบทประพันธ์ ซึ่งช่วยเสริมสร้างมโนภาพด้านอารมณ์ ความเคลื่อนไหว ของภาพให้ชัดเจน มีชีวิตชีวายิ่งขึ้น อันยังเป็นผลให้เข้าถึงรสภาพอย่างลึกซึ้ง กล่าวคือ เมื่ออ่านหรือฟังคำประพันธ์ใดแล้ว เกิดความรู้สึกอย่างไร หากคำประพันธ์ใดไม่มีรสย่อมจืดชืด ไม่เกิดอารมณ์สะเทือนใจแต่อย่างใดแก่ผู้อ่าน

รสในวรรณคดี รสวรรณคดีของไทย เป็นลีลาของบทประพันธ์อย่างหนึ่ง คือ การใช้ภาษา ให้เหมาะสมแก่เนื้อความของเรื่อง กล่าวคือ แต่งบทประพันธ์ตามรสบทประพันธ์ไทย หรือ รสวรรณคดีไทย ซึ่งมี 4 รส คือ 1. เสาวรจนี ได้แก่ บทพรรณนาความงามของสถานที่ธรรมชาติ ชมนาง 2. นารีปราโมทย์ ได้แก่ บทเกี้ยวพาราสี แสดงความรัก 3. พิโรธวาทัง ได้แก่ บทโกรธ บทตัดพ้อต่อว่า 4. สัลปังคพิสัย ได้แก่ บทแสดงความโศกเศร้า คร่ำครวญ อาลัยอาวรณ์

พิโรธวาทัง พิโรธวาทัง (อารมณ์โกรธ) เป็นอารมณ์ความรู้สึกอีกอย่างหนึ่งของมนุษย์ปุถุชน "เป็นความโกรธ หรือการตัดพ้อว่าด้วยความขุ่นเคือง คำที่ใช้จึงมักจะลงเสียงหนัก เพื่อเน้นความรู้สึกโกรธ เกลียดหรือเจ็บใจ" จารีตนิยมชนิดนี้มีความแตกต่างเป็นระดับ กล่าวคือ กล่าวเปรียบเทียบเชิงถ่อมตน - เจียมตน ตัดพ้อต่อว่า กล่าวเปรียบเปรยด่าว่าและถึงขั้น ตัดเป็นตัดตาย ตัวอย่างเช่น

แล้วว่าอนิจจาความรัก เพิ่งประจักษ์ดังสายน้ำไหล ตั้งแต่จะเชี่ยวเป็นเกลียวไป ที่ไหนเลยจะไหลคืนมา สตรีใดในพิภพจบแดน        ไม่มีใครได้แค้นเหมือนอกข้า ด้วยใฝ่รักให้เกินพักตรา จะมีแต่เวทนาเป็นเนืองนิจ โอ้ว่าเสียดายตัวนัก  เพราะเชื่อลิ้นหลงรักจึงช้ำจิต จะออกชื่อลือชั่วไปทั่วทิศ เมื่อพลั้งคิดผิดแล้วจะโทษใคร   จาก บทละครเรื่องอิเหนา

เมื่อแรกเชื่อว่าเป็นเนื้อทับทิมแท้ มาแปรเป็นพลอยหุงไปเสียได้ กาลวงว่าหงส์ให้ปลงใจ          ด้วยมิได้ดูหงอนแต่ก่อนมา คิดว่าหงส์จึงหลงด้วยลายย้อม ช่างแปลงปลอมท่วงทีดีหนักหนา ดังรักถิ่นมุจลินท์ไม่คลาดคลา ครั้นลับตาฝูงหงส์ก็ลงโคลน จาก เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน