แว่นกรองแสง (Light Filter)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการบันทึกข้อความ
Advertisements

บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
น้ำหนักแสงเงาหุ่นนิ่ง
กลุ่ม L.O.Y..
รุ้งพิเศษสำหรับท่าน เมฆมีขอบเป็นสีน้ำเงินทั้งนั้น และแต่ละวันที่
การทำทบทวนวรรณกรรมหรือวรรณกรรมปริทัศน์
บรรยากาศ.
ผู้ผลิต นายเชิดชัย ประโปตินัง ตำแหน่ง ครู คศ. 1
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
รายงานการวิจัย.
วงจรสี.
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
ทีมสำรวจอวกาศ ทีมสำรวจอวกาศ: ภารกิจ! แผนการจัดการเรียนรู้ 1: ภารกิจ 1.
องค์ประกอบ Graphic.
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
ปากกาแสง (Light Pen) นางสาวพัชรินทร์ จันทร์เขียว
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
Liquid Crystal Display (LCD)
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ขวดแชมพู รายวิชา เทคโนโลยีพลาสติกอุตสาหกรรม
คู่มือการใช้การเขียนเรียงความ โดยใช้โปรแกรม PowerPoint
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
Plasma display นางสาวอัจฉรี สุขผ่อง รหัส เทคโนโลยีสารสนเทศ ปี 4.
ทฤษฏีสี หลักการใช้สี.
1. สีสันหรือฮิว(HUE) หมายถึง สีที่ตาเรามองเห็น
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
Principle of Graphic Design
เครื่องโปรเจคเตอร์PROJECTOR
เครื่องถ่ายเอกสาร.
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
Next.
หลักการจัดทำ File Presentation
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
บทที่ 11.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
Module 4 เครื่องวัดสีและเครื่องวัดสีเฉพาะ
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
Habitat Winter No. 14 “ สีสันสร้างอารมณ์ ”. Habitat Winter No. 14 การทาสีในแนวขวาง ให้ พื้นที่สีจากด้านล่างมาก ที่สุดไปน้อยที่สุด เพิ่ม ความสนุกสนานให้กับการ.
ซ่อมเสียง.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
หน่วยที่ 8 การตกแต่งภาพถ่าย
เทคนิคการถ่ายภาพ.
ยูเรนัส (Uranus).
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
แสง การมองเห็น และทัศนอุปกรณ์
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
Detail & Prices of my products รายละเอียดและราคาของสินค้าที่ อยู่ในกำมือ.
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ผลงานโดย 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ปฏิบัติการที่ 2 แร่ประกอบหินอัคนี.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แว่นกรองแสง (Light Filter) คำถาม เคยเห็นภาพวิวบางภาพถ่ายติดเมฆกันได้สวยๆ อยาก ทราบว่ามีวิธีอย่างไร จึงจะช่วยให้ถ่ายภาพ แบบนั้นได้บ้าง คำตอบ วิธีถ่ายภาพให้ติดเมฆ มีวิธีง่ายๆคือวิธีใช้แว่นกรองแสง ช่วย ซึ่งควรจะทราบหัวข้อสำคัญบางประการที่เกี่ยวกับ แว่นกรองแสงไว้บ้าง เพื่อจะนำไปใช้ประโยชน์ ได้อย่างถูกต้อง

แว่นกรองแสงและวิธีใช้ 1 ลักษณะของแว่นกรองแสง 2 สีของแว่นกรองแสง 3 ประโยชน์ของแว่นกรองแสง

1 ลักษณะของแว่นกรองแสง 1 ลักษณะของแว่นกรองแสง แบ่งโดยวัสดุที่ใช้ผลิตได้เป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ คือ 1 ชนิดที่ทำจากกระจกหรือพลาสติก 2 ชนิดที่ทำจากเจลาติน(Gelatin)หรือเซลลูโลส (Cellulose)

แบ่งโดยรูปร่างและวิธีใช้งานได้เป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ คือ 1 ชนิดที่เป็นวงแหวนขนาดต่างๆ

2 ชนิดที่เป็นกรอบสี่เหลี่ยม

2 สีของแว่นกรองแสง ปกติสีของแว่นกรองแสงมีอยู่หลายสี โดยที่นิยมกันมากคือ สีแดง สีเหลือง สีเขียว และยังมีสีอื่นๆอีกซึ่งจะกล่าวในตอนท้าย

3 ประโยชน์ของแว่นกรองแสง 3 ประโยชน์ของแว่นกรองแสง ประโยชน์โดยทั่วไปของแว่นกรองแสงก็คือ การกรองแสงสีให้ได้ภาพตามต้องการ โปรดดูภาพตัวอย่าง ประกอบ แว่นกรองแสงภาพที่ 1

แว่นกรองแสงภาพที่ 2

จะยอมให้แสงที่ผ่านได้ ตารางแสดงฟิลเตอร์สีต่างๆซึ่งดูดกลืนและยอมให้แสงสีต่างๆผ่าน ฟิลเตอร์สี จะดูดกลืนแสงสี จะยอมให้แสงที่ผ่านได้ Red G,B R Green R,B G Blue R,G B Cyan B,G Magenta Yellow

ฟิลเตอร์ชนิดต่างๆ 1 ฟิลเตอร์สกายไลท์ (Skylight filters) สำหรับลดแสงสีฟ้าของท้องฟ้า ตัวฟิลเตอร์จะมีสีชมพูอ่อนๆเพื่อลดสีฟ้า นิยมใช้ปิดหน้าเลนส์ทั่วๆไปเพื่อป้องกันการ ขีดข่วนเลนส์ 2 ฟิลเตอร์ตัดรังสีอุลตราไวโอเลต(UV-filters) สำหรับตัดรังสีเหนือม่วง นิยมใช้ปิดหน้าเลนส์ทั่วๆไปเพื่อป้องกันการ ขีดข่วนเลนส์

3 ฟิลเตอร์โพลาไรซ์(Polarizing filters) ทำให้ภาพท้องฟ้ามีสีน้ำเงินเข้ม และช่วยตัดแสงสะท้อนจากวัตถุมันวาว

4 ฟิลเตอร์สีต่างๆ ฟิลเตอร์สีเหลือง เพื่อให้ได้ภาพเด่นขึ้น ฟิลเตอร์สีเขียวเหลือง เพื่อบันทึกเมฆให้เด่นชัด ตัดหมอกในอากาศ ฟิลเตอร์สีส้ม เพื่อเพิ่มสีสันรายละเอียดวัตถุ เช่น ลายเนื้อไม้ ฟิลเตอร์สีเขียว เพื่อถ่ายภาพย้อนแสง เพิ่มสีตัดกันของวัตถุ ฟิลเตอร์สีน้ำเงิน ถ่ายภาพก็อปปี้ แยกสีเหลืองและแดงออกจากกัน ฟิลเตอร์สีแดง ช่วยเพิ่มสีตัดกัน สำหรับภาพวิวที่ไกลมากๆ

5 ฟิลเตอร์ทอนแสง(Neutral Density Filters) เป็นฟิลเตอร์สีเทา ใช้ลดความเข้มแสงในสภาพแสงมากกว่าปกติ

หรือบางชนิดจะมีสีต่างๆเพื่อเพิ่มเทคนิคในการถ่ายรูปให้มากขึ้น

6 ฟิลเตอร์ประกายดาว(Cross screen filters) ให้ภาพเป็นจุดประกายดาว เป็นแฉกๆ จากจุดดวงไฟ หรือจากแหล่งกำเนิดแสงใดๆ

7 ฟิลเตอร์ประกายรุ้ง(Diffraction gratings filters) ทำหน้าที่คล้าย ปริซึม สามารถแยกสีรุ้งออกเป็นสีต่างๆได้

8 ฟิลเตอร์ฟุ้ง(Soft Filter) เหมาะสำหรับฉากหลังสีเข้ม จะได้ภาพที่มีความนิ่มนวล

9 ฟิลเตอร์หลายเงา(Mirage lens) จะทำให้เกิดภาพซ้อนหลายภาพตามชนิดของฟิลเตอร์

การใช้เทคนิคอื่นๆกับฟิลเตอร์ ใช้ฟิลเตอร์หลายๆอันพร้อมกัน