การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพิจารณากิจกรรม(งาน)วิกฤติ(ต่อ)
Advertisements

การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การเขียนผังงาน.
การวางแผนและกำหนดเป้าหมาย (Organizational Planning and Goal Setting)
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
Project Management.
การจัดหา การติดตั้ง และการบำรุงรักษาระบบ
Object-Oriented Analysis and Design
Production Chart.
Production Chart.
Decision Tree Analysis
การควบคุมข่ายงาน (PERT/CPM)
ATM (Asynchronous Transfer Mode)
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
1. แบบ SNRU-ERM 1 แบบแสดงขั้นตอนการดำเนินงาน (Key Process)
SCC : Suthida Chaichomchuen
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง Factors Contributing to the successful Implementation of Technology Innovations by David C. Ensminger, Daniel W.
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
Civil Engineering and Construction Management การบริหารการก่อสร้าง
การบริหารโครงการ (Project anagement)
Process Analysis 2 การวิเคราะห์กระบวนการ
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
การวิเคราะห์ Competency
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Node.
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Arrow.
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
การวิเคราะห์เนื้อหา.
Week 5 : การบริหารโครงการ
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การวิเคราะห์โครงการ (Project Appraisal)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
ซีเควนซ์ไดอะแกรม(Sequence Diagram)
การเร่งโครงการ Expedite Project.
หลักการแก้ปัญหา
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
Shortest-Path Algorithms
PERT/CPM.
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
หลักการเขียนโครงการ.
บทที่ 6 การจัดการโครงการ Project Management ญาลดา พรประเสริฐ.
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
ทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
การเขียนผังงาน (Flowchart)
นวัตกรรมการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การบริหารโครงการด้วย PERT & CPM
บทที่ 6 การกำหนดเวลางานโครงการ
Controlling 1.
บทที่ 2 การวางแผนและการบริหารโครงการ (Project Planning and Management)
บทที่ 7 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
Project Management การวางแผนและการควบคุมโครงการด้วยเทคนิค PERT และ CPM
การควบคุม (Controlling)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม สามารถบอกความหมายของการวิเคราะห์ข่ายงาน ( PERT / CPM ) ได้ อธิบายความแตกต่างของ PERT กับ CPM ได้ บอกรายละเอียด สัญลักษณ์ในการสร้างเครือข่ายงานได้

วิเคราะห์ข่ายงาน PERT / CPM ได้ สามารถสร้างตารางกิจกรรมได้ สร้างตารางสรุปผลที่ได้จากการศึกษาและวิเคราะห์รายละเอียดของโครงการ เมื่อกำหนดผลที่ได้จากการศึกษาและวิเคราะห์มาให้ได้ สร้างข่ายงาน PERT / CPM ได้ วิเคราะห์ข่ายงาน PERT / CPM ได้

การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM) Project Evaluation and Review Technique (PERT) PERT Networks Project Scheduling with PERT / CPM PERT Analysis Algorithm

ต่อ Critical Path Method (CPM) PERT นำมาใช้กับโครงการที่มี เวลาดำเนินการไม่แน่นอน CPM นำไปใช้กับโครงการที่สามารถประมาณเวลารวมทั้งค่าใช้จ่ายในการ ดำเนินโครงการได้แน่นอน

6.1. PERT Network Program Evaluation Review Technique (PERT) เป็นการกำหนดแผนการดำเนินการโครงการโดยพิจารณาจุดเริ่มต้น (Start – S ) และจุดสิ้นสุด (Finish - F) ของกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโครงการ โดยเน้นระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการตัดสินใจ

การกำหนดโครงการแบบ PERT จะใช้วิธีโครงสร้างเครือข่าย โดยเวลาที่พิจารณาสามารถพิจารณาจากกิจกรรมต่างๆ ในโครงการดังนี้ ระยะเวลาที่แต่ละกิจกรรมดำเนินการอยู่ ระยะที่สูญเสียไปน้อยที่สุด

เส้นทบวิกฤต Critical Path จะแสดงให้เห็นถึงโครงสร้างเครือข่ายที่การดำเนินกิจกรรมในโครงการมีเวลาที่เสียไป = 0 ( Zero Slack) nodes แสดงกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้น arc (or Arrows) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมในโครงการ

สูตรในการคำนวณใช้ระยะเวลาเฉลี่ยในการดำเนินการ Mean Completion time วิธีการคำนวณระยะเวลาที่เกิดขึ้นในแต่ละกิจกรรมโดยพิจารณาจากระยะเวลาที่ใช้ไปในการดำเนินการ สูตรในการคำนวณใช้ระยะเวลาเฉลี่ยในการดำเนินการ Mean Completion time

6.2. PERT Analysis Algorithm Step 1 : พิจารณากิจกรรมแต่ละกิจกรรม โดยเริ่มที่จุดเริ่มต้นของโครงการทำการคำนวณ Earliest Start Time = เวลาที่เร็วที่สุดที่จะเริ่มต้นทำกิจกรรมได้ (สำหรับกิจกรรมที่ไม่ได้เริ่มต้นจะมีค่า 0) Earliest Finish Time = เวลาเสร็จสิ้นเร็วที่สุดในแต่ละกิจกรรม = ( Earliest Start Time) + (เวลาที่กิจกรรม 1 เสร็จสิ้น)

Step 2 : พิจารณากิจกรรมแต่ละกิจกรรม โดยเริ่มที่จุดสิ้นสุดแล้วเคลื่อนที่กลับไปยังจุดเริ่มต้นโครงการ วิธีการคำนวณมีดังนี้ Latest Finish Time = เวลาเสร็จสิ้นอย่างช้าที่สุดของกิจกรรมโดยไม่ทำให้เวลาของโครงการเปลี่ยนแปลง ณ จุดสิ้นสุดจะเป็นระยะเวลาที่ทำงานเสร็จสมบูรณ์ Latest Start Time เวลาที่ช้าที่สุดที่จะเริ่มต้น = (Latest Finish Time) - (เวลาที่ทำกิจกรรม I เสร็จสิ้น)

Step 3 : Calculate the Slack Time for Each Activity by : Slack = (Latest Start) - (Earliest Start) or = (Latest Finish) - (Earliest Finish) เส้นทางวิกฤติ คือ เส้นทางของกิจกรรมจากจุดเริ่มต้น ถึงจุดสุดท้ายเมื่อSlack times เท่ากับ 0 ดังนั้น ที่ Slack = 0 คือ critical path และกิจกรรมที่อยู่บนเส้นทางวิกฤต เรียกว่า กิจกรรมวิกฤติ คือจะต้องดำเนินกิจกรรมให้สำเร็จในระยะเวลาที่กำหนด ไม่สามารถล่าช้าได้

6.4. PERT Network Representation

กิจกรรมในชั้นเรียน การบ้าน

คำถาม