การหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงานขิงดองเพื่อการส่งออก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
Advertisements

เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 4 ปี (พ.ศ – 2561) ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2556.
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
ทอฟฟี่มะละกออัลมอนด์
จัดทำโดย นายวิทยา หาญอาษา และ นายธวัช มุดไธสง อาจารย์ที่ปรึกษา
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
การถอดความรู้ เรื่องการผลิตสับปะรดโรงงาน
ยุทธศาสตร์การนำเข้า การค้าระหว่างประเทศมีมูลค่ากว่าร้อยละ 55 ของ GDP
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
รายงานที่ให้ทำ (ทุกคน)
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การขับเคลื่อน Whole Value Chain Network ด้วยโลจิสติกส์ (Logistic) และห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) สินค้าเกษตรที่สำคัญของไทย.
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การศึกษาความพร้อมในการใช้การจัดการโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป จัดทำโดย นางสาววราพร วิริยะไชยกุล ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต.
เทคโนโลยีด้านพลังงาน
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
กระบวนการจัดการความรู้
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
ของดีศรีสำโรง นำเสนอ...โดย นายศรัณยู ยุบล นายทำนุ ร้อยกรอง
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
สระแก้ว.
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
การพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยคุณภาพภาคเหนือ ปี
โครงการ จัดระบบสินค้าเกษตรในระดับพื้นที่
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
โดย.. นายประเสริฐ ดอยลอม
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
เผือกฉาบ. เผือกฉาบ ขั้นตอนและวิธีการทำเผือกฉาบ สารบัญ ที่มาและความสำคัญ วัสดุ และอุปกรณ์ ขั้นตอนและวิธีการทำเผือกฉาบ.
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
สรุปผลการประชุมกลุ่มที่ 3
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
โครงการศึกษาเศรษฐกิจ การผลิตและการตลาดไหมไทย
ธุรกิจประมงและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
ทิศเหนือติดต่อกับ ตำบลพิตเพียน อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศใต้ติดต่อกับตำบลเจ้าปลุก อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศตะวันออกติดต่อกับอำเภอดอนพุด.
โครงการศึกษาพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ระบบสารสนเทศที่แบ่งตามลักษณะการสนับสนุนการทำงาน:
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงานขิงดองเพื่อการส่งออก โครงการพัฒนาระบบการบริหารเครือข่ายโซ่อุปทานและโลจิสติกส์อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐานปลอดภัยอาหาร การหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงานขิงดองเพื่อการส่งออก ดร.วีรพัฒน์ เศรษฐ์สมบูรณ์ นายเสกสรร บัวระภา และนายรังสฤษฏ์ สุทธิคุณ จังหวัดพิษณุโลก ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 2 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขิง เป็นพืชเศรษฐกิจ ซึ่งมีคุณค่าทั้งในเชิงอาหารและเครื่องเทศที่สำคัญของโลก ประเทศไทยมีศักยภาพในการผลิตเพื่อการส่งออกเป็นมูลค่า 1,000 ล้านบาทต่อปี พื้นที่ปลูก : ปลูกในภาคเหนือ 71.13 % ของทั้งประเทศ ตลาดส่งออก : ประเทศญี่ปุ่น ประคู่แข่ง : จีน ปัญหา : ต้นทุนโลจิสติกส์สูงกว่าประเทศคู่แข่ง แนวทางแก้ไข : การหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมเพื่อลดต้นทุน การขนส่ง วัตถุประสงค์ วิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าขิงดองเพื่อกำหนดรูปแบบในการพัฒนา หาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงงานขิงดองเพื่อการส่งออก การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าขิงดอง การ เก็บเกี่ยว ผลผลิต ตรวจสอบ มาตรฐาน ส่งเสริม การผลิต การปรับปรุง ดินและ ชลประทาน การจัดการ พื้นที่ การพัฒนาเพิ่มผลผลิตและคุณภาพต้นทุน การแปรรูปเพื่อเพิ่มคุณค่า การพัฒนา แปรรูป มาตรฐานและย้อนกลับ คุณภาพ เพื่อส่งออก การพัฒนาระบบตลาด การเพิ่มขีด ความสามารถ ในการแข่งขัน การส่งเสริม การตลาด ระบบ โลจิสติกส์ การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าขิงดอง ใช้การวิเคราะห์จุดอ่อนและจุดแข็งของอุตสาหกรรม ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ถึงปลายน้ำ ซึ่งมีผลการวิเคราะห์ดังนี้ การหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงงานขิงดองเพื่อการส่งออก การผลการวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าขิงดอง ทำให้เห็นถึงความต้องการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ โดยการหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสม ใช้เทคนิค Center of gravity ซึ่งจำแนกการหาที่ตั้งเป็น 3 ประเภท ดังนี้คือ 1. กลยุทธ์ทำเลใกล้แหล่งวัตถุดิบหลัก ( Main Raw Material - Positioned Strategy) 2. กลยุทธ์ทำเลใกล้แหล่งวัตถุดิบทั้งหมด (All Raw Material – positioned Strategy) กลยุทธ์ทำเลอยู่ใกล้ตลาด (Market – positioned Strategy) การประยุกต์ใช้เทคนิค Center of gravity ในการคำนวณหาพิกัดตำแหน่งโดยมีหลักการคือ ต้องหาพิกัดตำแหน่งในปัจจุบันซึ่งต้องเป็นพิกัด X และพิกัด Y และการค่าน้ำหนัก (weight) เพื่อใช้ประกอบการคำนวณโดยใช้โปรแกรม MapMagic ในการหาพิกัดจุดภูมิศาสตร์ของอำเภอที่ปลูกขิงใน 7 จังหวัดภาคเหนือซึ่งมี 48 อำเภอ

การหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงานขิงดองเพื่อการส่งออก โครงการพัฒนาระบบการบริหารเครือข่ายโซ่อุปทานและโลจิสติกส์อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐานปลอดภัยอาหาร การหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงานขิงดองเพื่อการส่งออก รูปแบบทางคณิตศาสตร์ของการกำหนดทำเลที่ตั้ง สมการในการคำนวณหาพิกัด ตัวแปร = จุดศูนย์ถ่วงน้ำหนัก พิกัดตามแกน X = จุดศูนย์ถ่วงน้ำหนัก พิกัดตามแกน Y = พิกัดตามแนวแกน X ของพื้นที่ I = พิกัดตามแนวแกน Y ของพื้นที่ i = ปริมาณขิงอ่อนของแต่ละ พื้นที่ i = ปริมาณขิงอ่อนของแต่ละ พื้นที่ j = ปริมาณขิงอ่อนของแต่ละ พื้นที่ k = ค่าน้ำหนักของการเคลื่อนที่ของปริมาณขนส่งขิงอ่อน = ค่าน้ำหนักของการเคลื่อนที่ของปริมาณขนส่งเกลือและอื่นๆ = ค่าน้ำหนักของการเคลื่อนที่ของปริมาณขนส่งขิงดอง การกำหนดค่าน้ำหนัก ปริมาณ (ตัน) จำนวนเที่ยงการขนส่ง(เที่ยว) ค่าน้ำหนัก 111,458.66 13,933 0.322205 11,145.86 1,593 0.087185 128,177.46 3,663 0.978365 การคำนวณได้กำหนดค่าน้ำหนัก โดยคิดจากปริมาณขิงอ่อน 70.78% ปริมาณเกลือที่ใช้ดองขิง 7.08 % ส่วนผสมอื่น ๆ 3.54% ซึ่งสามารถผลิตขิงดองที่ออกที่ท่าเรือ 18.60 % โดยสามารถคำนวณเป็นค่าน้ำหนักได้ดังนี้ การหาพิกัดที่ตั้งโรงงาน โดยประยุกต์ใช้เทคนิค Center of Gravity จังหวัด อำเภอ ปริมาณขิงอ่อน เฉลี่ย( ตัน ) พิกัด ค่าน้ำหนัก X Y เพชรบูรณ์ หล่มสัก 359.125 101.24 16.77 0.322205 หล่มเก่า 97.175 101.22 16.88 0.087185 ตาก กิ่ง อ.วังเจ้า 1,090.47 99.23 16.69 0.978365 หมายเหตุ : ข้อมูลที่ใช้ในการคำนวณหาตำแหน่งที่ตั้งโรงงานขิงดองยังมีอีกซึ่งไม่ได้แสดงรายละเอียด ตัวอย่างการคำนวณ พิกัด X พิกัด Y ผลการวิเคราะห์ พิกัด Main Raw Material positioned Strategy All Raw Material positioned Strategy Market X 100.79 100.72 100.81 Y 17.94 17.35 14.251 การจำแนกที่ตั้งโรงงานขิงดองทั้ง 3 ประเภท ได้ตำแหน่งที่ตั้งโรงานที่เหมาะสมดังนี้ Main Raw Material – positioned Strategy All Raw Material – positioned Strategy Market– positioned Strategy อำเภอฟากท่า จังหวัดอุตรดิตถ์ อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 2 Value Chain & Value Added : สินค้าเกษตรแปรรูป โครงการพัฒนาระบบการบริหารเครือข่ายโซ่อุปทานและโลจิสติกส์อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐานปลอดภัยอาหาร จังหวัดพิษณุโลก ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 2 มหาวิทยาลัยขอนแก่น Value Chain การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การจัดการ พื้นที่/ แปลงปลูก การส่งเสริม การผลิต และ ใช้เมล็ด พันธุ์ดี การ ปรับ ปรุง ดิน การจัด การ ระบบ น้ำ การจัด การ ศัตรู พืช การเก็บ เกี่ยว ผล ผลิต การ ตรวจสอบ มาตรฐาน การแปรรูป เพื่อเพิ่มและ สร้างคุณค่า การ พัฒนา ประสิทธิ- ภาพระบบ การ พัฒนา แปรสภาพ และแปรรูป การ ตรวจสอบ มาตรฐาน การ พัฒนา คุณภาพ เพื่อส่งออก การเพิ่ม ขีดความ สามารถ ในการ แข่งขัน การกระจาย สินค้าและ โลจิสติกส์ ส่งเสริมการ ตลาดแบบ Contract Farming การพัฒนา ระบบตลาด การสร้าง เครือข่ายห่วง โซ่อุปทาน การจัดทำ ระบบฐาน ข้อมูล ศูนย์ปฏิบัติงาน เครือข่าย อาหารปลอดภัย พริก: Chilli ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรียในกระเพาะอาหาร ยาใช้ภายใน ยาธาตุ ยาขับลม อุตสาหกรรมยา ยาเจริญอาหาร ส่วนผสมของครีมหรือเจลบรรเทาอาการปวดเมื่อย ยาใช้ภายนอก ส่วนผสมของขี้ผึ้ง ซอสพริก พริกดอง พริกสด อาหารคน เครื่องแกง อุตสาหกรรมอาหาร พริกป่นประ กอบอาหาร พริกแห้ง พริก อาหารสัตว์ น้ำพริก พริกป่น ครัวเรือน พริกประกอบอาหาร ส่วนผสมของอาหารไก่ พริกป่นใน บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ส่วนผสมของโลชันบำรุงผิว อุตสาหกรรมเครื่องสำอาง ส่วนผสมในครีมลดความอ้วน อุตสาหกรรมยานยนต์ ส่วนผสมในสายไฟรถยนต์กันหนูกัด อุตสาหกรรมอื่น ๆ ส่วนผสมของแก๊สน้ำตา

ส่วนประกอบในการปรุงอาหาร Value Added : สินค้าเกษตรแปรรูป โครงการพัฒนาระบบการบริหารเครือข่ายโซ่อุปทานและโลจิสติกส์อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐานปลอดภัยอาหาร กล้วย:Banana กล้วยตาก สัตว์ อาหารสัตว์ การแปรรูปขั้นต้น กล้วยกวน ผล อุตสาหกรรมยา สารเคลือบยา กล้วยฉาบ การแปรรูปโดย ใช้เทคโนโลยี อื่น ๆ อาหาร คน อุตสาหกรรมอาหาร กล้วยกระป๋อง แป้งกล้วย น้ำกล้วย เครื่องดื่ม กล้วย กล้วยผง ไวน์กล้วย ครัวเรือน ซอสกล้วย ส่วนผสมอาหารเด็ก อาหาร ก้านกล้วย เชือกกล้วย ขนมหวานต่าง ๆ บรรจุอาหารชั่วคราว ใบ งานประดิษฐ์ ลำต้น กระดาษสา ขิง:Ginger น้ำมันหอมระเหย ครีมขัดผิว ขิงสด สารสกัดจากขิง โลชัน/ครีม อุตสาหกรรมยา และเครื่องสำอาง ครีมลบเลือน ริ้วรอย ขิงแห้ง ส่วนประกอบของยา ขิงดอง อาหาร ขิงเชื่อม ขิง อุตสาหกรรมอาหาร ขิงผง เครื่องดื่ม น้ำขิง ครัวเรือน ส่วนประกอบในการปรุงอาหาร