แนวทางการดำเนินงาน วัยเรียน กรมสุขภาพจิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สกลนครโมเดล.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
ชัฌฎา ลอม ศรี นักจิตวิทยา แนวทางการ ดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงาน วัยเรียน กรมสุขภาพจิต 20 มกราคม 2558

ประเด็นการชี้แจง การขับเคลื่อนงานเด็กวัยเรียน ผ่าน แผนงานกลุ่มเด็กวัยเรียน โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทยวัยเรียน ตัวชี้วัดที่ 1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา รพช. ให้มีระบบ การเฝ้าระวัง IQ/EQ ในเด็กวัยเรียนร่วมกับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

แผนงานกลุ่มเด็กวัยเรียน (กรมเจ้าภาพ: กรมอนามัย)

มาตรการ ผลลัพธ์ เด็กไทยเติบโตสมวัย สมองดี คิดดี มีความสุข นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/ วาระสุขภาพแห่งชาติ มีแผนการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนแบบบูรณาการทุกระดับ การจัดบริการสุขภาพร่วมกับโรงเรียน บริการสุขภาพอนามัยนักเรียน ช่วยเหลือ ติดตาม ส่งต่อ การมีส่วนร่วมของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ การพัฒนาสุขภาพเด็ก การจัดสภาพสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ความรู้/ ความสามารถ และทักษะในการดูแลสุขภาพ เด็กไทยเติบโตสมวัย สมองดี คิดดี มีความสุข แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/ วาระสุขภาพแห่งชาติ มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพตามแนวทางการบูรณาการ มีระบบการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน การติดตาม และส่งต่อที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน มีเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาสุขภาพเด็ก ครอบครัว/ ชุมชน/ อบท.

การดำเนินงานผ่านโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ แบบบูรณาการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 10 องค์ประกอบ นโยบาย / การบริหารจัดการ / โครงการร่วมโรงเรียนและชุมชน / การจัดสิ่งแวดล้อม / อนามัยโรงเรียน / สุขศึกษา / โภชนาการ / ออกกำลังกาย / การให้คำปรึกษา / ส่งเสริมสุขภาพ สถานการณ์โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียน เข้าร่วม โครงการ 33,172 แห่ง จากโรงเรียนทั้งหมด 36,257 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 92 5

KPI กรมสุขภาพจิต แผนงานกลุ่มวัยเรียน KPI ระดับกระทรวง •เด็กนักเรียนเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกินร้อยละ 10 • อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5 KPI ระดับเขตสุขภาพ • จำนวนโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพร้อยละ 95 • จำนวนโรงเรียนที่ดำเนินการผ่านเกณฑ์ KPI ระดับจังหวัดทุกด้าน ร้อยละ 40 • จำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก(อายุต่ำกว่า 15 ปี) ลดลงตามเกณฑ์ในแต่ละพื้นที่เสี่ยง KPI ระดับจังหวัด •โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากและนักเรียนในโรงเรียนได้รับบริการ ทันตกรรมป้องกันและตามความจำเป็น • ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-14 ปี) มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน • เด็ก ป. 1 ทุกคนได้รับการตรวจสายตาและการได้ยิน โดยร้อยละ 80 ของเด็กที่มีปัญหาได้รับการช่วยเหลือ แก้ไข •จำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก KPI กรมสุขภาพจิต ร้อยละ 70 ของเด็กวัยเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาที่เสี่ยงต่อปัญหา IQ/EQ ได้รับการดูแลช่วยเหลือ

การดำเนินงานตาม 5 บทบาทหลัก (งปม. รวม 102.4 ล้านบาท) 1) National Lead (งปม. 29.78 ล้าน) การขับเคลื่อนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โดยความร่วมมือ ของ partnership ระหว่าง กระทรวง ศธ กับ สธ และ ภาคส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง 2) Model Development (งปม. 30.95 ล้าน) -มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพตามแนวทางบูรณาการ -พัฒนาเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียน -พัฒนาต้นแบบ จากThe Best /แก้ปัญหาให้พื้นที่ -การพัฒนาและR&D 3) Technology Transfer (งปม. 34.29 ล้าน) หลักสูตร/คู่มือการดำเนินงานสำหรับบุคลากร วิทยากรในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ /ถอดบทเรียน 4) M&E, Problem Solving, Evaluation (งปม. 4.0 ล้าน) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลเชิงคุณภาพ /QAโดย สมศ. 5) Surveillance (งปม. 3.38 ล้าน) พัฒนาระบบเฝ้าระวังร่วมกับ เขตสุขภาพ

พัฒนาสติปัญญาเด็กไทยวัยเรียน โครงการ พัฒนาสติปัญญาเด็กไทยวัยเรียน

โครงการ พัฒนาสติปัญญาเด็กไทยวัยเรียน หน่วยงานผู้รับผิดชอบ (PM) กรมเจ้าภาพ กรมอนามัย งบประมาณที่ได้รับ งบบูรณาการ 9.385 ล้านบาท วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เด็กวัยเรียนในพื้นที่เป้าหมายได้รับการส่งเสริมไอคิวและอีคิว 2. เด็กวัยเรียนกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อปัญหาไอคิวและอีคิวได้รับการดูแลต่อเนื่องในชุมชน 3. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาไอคิวและอีคิวสำหรับเด็กวัยเรียน 4. เพื่อให้สังคมตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและพัฒนาไอคิวและอีคิวของเด็กวัยเรียน

สถานการณ์ที่สำคัญและ Base Line ที่นำมาวางแผนการดำเนินงานปีงบประมาณ 2558 จากผลการสำรวจระดับสติปัญญาของกรมสุขภาพจิต พ.ศ. 2554 ในกลุ่มตัวอย่างเด็กไทยอายุ 6 -15 ปี ซึ่งเป็นตัวแทนในระดับจังหวัด 76 จังหวัดทั่วประเทศ ข้อมูลระดับสติปัญญาเด็กรายจังหวัด พบว่า IQ เฉลี่ยของเด็กไทยทั่วประเทศเท่ากับ 98.59 จากผลการสำรวจระดับความฉลาดทางอารมณ์ของกรมสุขภาพจิต พ.ศ. 2554 จากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักเรียนไทยปีการศึกษา 2553 ทั้ง 76 จังหวัด อายุ 6-11 ปี หรือระดับชั้น ป.1-ป.6 พบว่า มีคะแนน T ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) เฉลี่ยระดับประเทศจัดอยู่ระดับต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ (45.12) Base Line ข้อมูลที่นำมากำหนดเป็นตัวชี้วัด ข้อมูลในปี 2557 มีการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 33,116 โรง (93.99%) โดยแบ่งเป็น ระดับเพชร 1.1% ระดับทอง 62.78% ระดับเงิน17.30% ระดับทองแดง 12.82% จากการรายงานผลตัวชี้วัด 6 เดือนแรก ปี 2557 พบว่ารพช.ร้อยละ 35.51 มีระบบเฝ้าระวัง ไอคิวอีคิวร่วมกับโรงเรียน ในการคัดกรอง IQ/EQ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1ห้องเรียน/โรงเรียนต้นแบบรวมจำนวน6,735 คน พบเด็กกลุ่มเสี่ยง คิดเป็นร้อยละ 36.21

กรอบการดำเนินงาน กลุ่ม สื่อ เป้าหมาย เทคโนโลยี Setting สนับสนุน 1. แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน (SDQ) 2. แบบสังเกต 4 โรค 3. แบบประเมิน EQ เด็กวัยเรียน 4. ร่างคู่มือ Psychososial Careเด็กวัยเรียนสำหรับ รพช. และร่างคู่มือการดูแลเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมอารมณ์สำหรับครู 1.บุคลากร รพช. เป้าหมาย 2.ครูในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเป้าหมาย 3. เด็ก ป.1 ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเป้าหมาย 1.รพช. 2. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ LOGO

มาตรการหลักของกรมเจ้าภาพ กิจกรรมหลักของโครงการ กิจกรรมการขับเคลื่อนนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทยวัยเรียน มาตรการหลักของกรมเจ้าภาพ กิจกรรมหลักของโครงการ นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานแก่บุคลากรในสังกัดกรมฯ การจัดบริการสุขภาพร่วมกับโรงเรียน การถ่ายทอดความรู้ให้แก่บุคลากรผู้ปฏิบัติงานในสังกัดกรมฯ สนับสนุนวิทยากรหลักกรมฯ ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ (โอนเงินลงพื้นที่) ผลิตสื่อเทคโนสนับสนุนการดำเนินงาน พัฒนาองค์ความรู้เพื่อการดำเนินงานสุขภาพจิตในพื้นที่ สำรวจติดตามการดำเนินงานในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ สัมมนาประเมินผลการดำเนินงานภาพรวม การมีส่วนร่วมของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ สื่อสารสร้างความตระหนักในสถานการณ์ไอคิวในส่วนกลาง สนับสนุนการสื่อสารสร้างความตระหนักในสถานการณ์ไอคิวในระดับพื้นที่ (โอนเงินลงพื้นที่)

กิจกรรมการขับเคลื่อน & หน่วยงานดำเนินงาน หน่วยดำเนินงาน กิจกรรม วงเงิน ส่วนกลาง การชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานแก่บุคลากรในสังกัดกรมฯ การชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงาน และตัวชี้วัดการดำเนินงาน (10 ต.ค. 57) การชี้แจงการดำเนินงานของ PM แก่ผู้ปฏิบัติงานด้านเด็กในสังกัดกรมฯที่ทำงานในพื้นที่(ภายใน ต.ค.57) จากโครงการปฐมวัย + วัยรุ่น + พิการ จากโครงการกลุ่มปฐมภูมิ/ ตติยภูมิ

กิจกรรมการขับเคลื่อน & หน่วยงานดำเนินงาน หน่วยดำเนินงาน กิจกรรม วงเงิน PM (ส.ราชานุกูล, สพส.) การถ่ายทอดความรู้ให้แก่บุคลากรผู้ปฏิบัติงานในสังกัดกรมฯ อบรมและสร้างความพร้อมของวิทยากรหลัก TOT (ดำเนินการร่วมกับปฐมวัย) (1ครั้ง/100 คน/3 วัน) (ต้นเดือน พ.ย. 57) การพัฒนา ผลิตองค์ความรู้ เครื่องมือ ที่ใช้ในการดำเนินงาน ผลิตสื่อเทคโนสนับสนุนการดำเนินงาน พัฒนาองค์ความรู้เพื่อการดำเนินงานสุขภาพจิตในพื้นที่ จากโครงการวัยเรียน: 1.1 ลบ. จากโครงการวัยเรียน: 1 ลบ. จากโครงการวัยเรียน: 1.5 ลบ.

กิจกรรมการขับเคลื่อน & หน่วยงานดำเนินงาน หน่วยดำเนินงาน กิจกรรม วงเงิน PM (ส.ราชานุกูล, สพส.) การสร้างความตระหนักและสื่อสารองค์ความรู้และสถานการณ์เกี่ยวกับไอคิวและอีคิว สื่อสารสร้างความตระหนักในสถานการณ์ไอคิวในส่วนกลาง (ผลการสำรวจสถานการณ์ปี 57 และการเตรียมความพร้อมในการสำรวจ IQEQ ปี 59) (พ.ค. 58) การนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานสำรวจ / นิเทศการดำเนินงาน สำรวจติดตามการดำเนินงานในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (มิ.ย. 58) สัมมนาประเมินผลการดำเนินงานภาพรวม (ร่วมกับปฐมวัย มิ.ย. 58) จากโครงการวัยเรียน: 1.64 ลบ. จากโครงการวัยเรียน: 0.285 ลบ. จากโครงการปฐมวัย

กิจกรรมการขับเคลื่อน & หน่วยงานดำเนินงาน หน่วยดำเนินงาน กิจกรรม วงเงิน ศูนย์สุขภาพจิต ที่ 1-12, รพ.จิตเวช, หน่วยเด็ก การถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้ปฏิบัติงานในเครือข่ายเขตสุขภาพ สนับสนุนวิทยากรหลักกรมฯ ในการถ่ายทอดองค์ความรู้(พ.ย. 58) การสร้างความตระหนักและสื่อสารองค์ความรู้และสถานการณ์เกี่ยวกับไอคิวและอีคิว สื่อสารสร้างความตระหนักในสถานการณ์ไอคิวในพื้นที่ (กลุ่มเป้าหมาย ครู ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไป) (ธ.ค. 57- มิ.ย. 58) จากโครงการวัยเรียน: 2.66 ลบ. (โอนเงินลงศูนย์สุขภาพจิต 35,000 บาท/ จังหวัด) จากโครงการวัยเรียน: 1.2 ลบ. 100,000 บาท/ เขตสุขภาพ)

กรอบติดตามผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดโครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทยวัยเรียน ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการใน 1 ปี ผู้ให้ข้อมูล ตามตัวชี้วัด เครื่องมือที่ใช้การติดตามผลงานตามตัวชี้วัด ผู้จัดเก็บข้อมูล ผู้รายงานผล 1.) ร้อยละ 50 ของโรงพยาบาลชุมชน มีระบบเฝ้าระวังปัญหาไอคิวและอีคิวเด็กในวัยเรียนเชื่อมโยง กับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (สำรวจร่วมกับกรมอนามัย) บุคลากรสาธารณสุขที่รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียน แบบรายงานผลการดำเนินงานการพัฒนา รพช. ให้มีระบบการเฝ้าระวัง IQ/EQ ในเด็กวัยเรียนร่วมกับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์สุขภาพจิตและ/หรือรพจ. ส. ราชานุกูล/สพส.

กรอบติดตามผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดโครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทยวัยเรียน ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการใน 1 ปี ผู้ให้ข้อมูล ตามตัวชี้วัด เครื่องมือที่ใช้การติดตามผลงานตามตัวชี้วัด ผู้จัดเก็บข้อมูล ผู้รายงานผล 2.) ร้อยละ 80 ของเด็กวัยเรียนที่มีความเสี่ยงต่อปัญหา IQ/EQ ได้รับการดูแลต่อเนื่องตามเกณฑ์ที่กำหนด 1.ครูประจำชั้นป.1 2.บุคลากรสาธารณสุขที่รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียนหรือบุคลากรในหน่วยบริการดุแลด้านสังคมและจิตใจ แบบรายงานผลการดำเนินงานการพัฒนา รพช. ให้มีระบบ การเฝ้าระวัง IQ/EQ ในเด็กวัยเรียนร่วมกับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์สุขภาพจิตและ/หรือรพจ. ส. ราชานุกูล/สพส.

ตัวชี้วัดที่ 1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา รพช ตัวชี้วัดที่ 1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา รพช. ให้มีระบบ การเฝ้าระวัง IQ/EQ ในเด็กวัยเรียนร่วมกับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

หน่วยงาน สถาบันราชานุกูล PM หลัก สำนักส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต ศูนย์สุขภาพจิตที่ 1-12 (ยกเว้นศูนย์สุขภาพจิตที่ 13) และหน่วยบริการจิตเวชทั้ง 13 แห่ง ร่วมกับ หน่วยบริการจิตเวชเด็ก 5 แห่ง หน่วยดำเนินการ/ รับการประเมิน www.themegallery.com

คำอธิบาย โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) หมายถึง สถานบริการตามกรอบการจัดระดับสถานบริการ อ้างอิงตามแนวทาง การจัดระดับสถานบริการสุขภาพ (Service Plan) การพัฒนา รพช. หมายถึง การพัฒนางานอนามัยโรงเรียนหรืองานส่งเสริมสุขภาพของ รพช.ให้มีระบบเฝ้าระวังปัญหา IQ/EQ ร่วมกับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียน หมายถึง เด็กนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ หมายถึงโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สาธิตและราชภัฎ) ทั้ง 76 จังหวัดทั่วประเทศที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระบบการเฝ้าระวัง IQ/EQ หมายถึง การพัฒนาระบบและวางระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ซึ่งหมายรวมถึง การมีแนวทางในการประเมินคัดกรองนักเรียนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่มีปัญหาIQ/EQ การจัดกิจกรรมการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่มีปัญหาอย่างเหมาะสมที่ดำเนินการโดย โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ และรพช.

คำอธิบาย นักเรียนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่มีปัญหา IQ/EQ หมายถึง เด็ก ป. 1 ที่ได้รับการประเมินจากโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพว่ามีความเสี่ยงต่อปัญหาการเรียน พฤติกรรมอารมณ์ และ/ หรือ มีปัญหาการเรียน พฤติกรรมอารมณ์ และ/ หรือ ควรได้รับการส่งเสริม EQ การดูแลช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่มีปัญหา หมายถึง การที่ครูพูดคุยให้คำปรึกษาเบื้องต้นกับนักเรียนเป็นรายบุคคล/รายกลุ่ม การช่วยเหลือทางสังคมและอื่นๆ ภายหลังที่คัดกรองแล้วพบว่ามีความเสี่ยงต่อปัญหาหรือมีปัญหาการเรียน ปัญหาพฤติกรรม ปัญหาอารมณ์ และส่งต่อโรงพยาบาลชุมชนกรณีที่เกินความสามารถ เพื่อรับบริการดูแลต่อเนื่อง เช่น การประเมินคัดกรองเพิ่มเติม การให้คำปรึกษาเด็ก และ/หรือครอบครัว และ/หรือโรงเรียน การส่งพบผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางหรือส่งต่อ โรงพยาบาลทั่วไป/ โรงพยาบาลศูนย์ ในกรณีที่เกินความสามารถของโรงพยาบาลชุมชน หน่วยบริการจิตเวช 13 แห่ง ร่วมกับหน่วยบริการจิตเวชเด็ก 5 แห่งและศูนย์สุขภาพจิตที่ 1-12 (ยกเว้น ศูนย์สุขภาพจิตที่ 13) หมายถึง สถาบัน/รพ.จิตเวช หน่วยบริการจิตเวชเด็ก และศูนย์สุขภาพจิต (ยกเว้น ศูนย์สุขภาพจิต ที่ 13)ในสังกัดกรมสุขภาพจิต ดำเนินการร่วมกัน เพื่อสนับสนุนให้รพช.มีการพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง IQ/EQ ในเด็กวัยเรียน

ขั้นตอนการดำเนินการรอบ 6 เดือนแรก ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ประชุม ชี้แจงหรือสื่อสารนโยบาย ความสำคัญและแนวทางการดำเนินงานแก่พื้นที่ กำหนดรพช. เป้าหมายที่มีการดำเนินการร่วมกับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 50 ของ รพช. ในจังหวัด กำหนดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเป้าหมาย โดยร่วมกับศูนย์อนามัย (1.5 คะแนน) ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับระบบการเฝ้าระวังปัญหา IQ/EQ ในเด็กวัยเรียนแก่เครือข่ายผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินงาน) (1 คะแนน) เป็นพี่เลี้ยงรพช. ในการทำแผนเพื่อจัดให้มีระบบการเฝ้าระวังปัญหา IQ/EQ.ในเด็กวัยเรียน สนับสนุนการดำเนินการตามแผนฯ โดยมีการคัดกรอง IQ/EQ กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (1 คะแนน) จัดทำรายงานข้อมูลสรุปผลการคัดกรองนักเรียน ตามแบบฟอร์มที่กำหนด (0.5 คะแนน) www.themegallery.com

ขั้นตอนการดำเนินการรอบ 6 เดือนหลัง ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 -มีผลลัพธ์ที่ได้จากการดำเนินงานร่วมกัน 5.1 ร้อยละ ของ รพช. ที่มีระบบการเฝ้าระวังปัญหา IQ/EQ (1 คะแนน) 5.2 ร้อยละ ของเด็กนักเรียนที่มีความเสี่ยงต่อปัญหา IQ/EQ ในโรงเรียนเป้าหมายได้รับการดูแลช่วยเหลือ เป็นพี่เลี้ยง กำกับ ติดตามการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพร่วมกับศูนย์อนามัย และเป็นพี่เลี้ยง กำกับ ติดตาม การดำเนินงานรพช. (1.5 คะแนน) รายงานสรุปผลการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา IQ/EQ

สูตรการคำนวณ พิจารณาการให้คะแนนตามผลการดำเนินงาน 5.1 ร้อยละ 50 ของ รพช. ที่มีระบบการเฝ้าระวังปัญหา IQ/EQ สูตรในการคำนวณ จำนวน รพช. ที่มีระบบการเฝ้าระวังปัญหา IQ/EQ X 100 จำนวน รพช.ทั้งหมด   เกณฑ์การให้คะแนนตามผลการดำเนินงาน ดังนี้ 5.2 ร้อยละ 80 ของเด็กนักเรียนที่มีความเสี่ยงต่อปัญหา IQ/EQ ในโรงเรียนเป้าหมายได้รับการดูแลช่วยเหลือ จำนวนเด็กวัยเรียนที่มีปัญหา IQ/EQ ได้รับการดูแล x100 จำนวนเด็กทั้งหมดที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อปัญหา IQ/EQ คะแนน 0.2 0.4 0.6 0.8 1 ร้อยละ 30 35 40 45 50 คะแนน 0.2 0.4 0.6 0.8 1 ร้อยละ 60 65 70 75 80 www.themegallery.com

THANK YOU FOR YOUR ATTENTION