นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
กระบวนการจัดการความรู้
กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีการปศุสัตว์
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
เครื่องหมายรับรอง “Q ”และ “Q Premium”
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
ภาควิชาพัฒนาการเกษตร
กลุ่มที่ 1.
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
กลุ่มที่ 2 เขต 2, 3 และ 4.
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
(กิจกรรมการเลี้ยงโคเนื้อ)
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาเครือข่ายเกษตรกรผู้เลี้ยงแพะ แบบครบวงจร กลุ่มวิจัยฯ สัตว์เล็ก - สัตว์ปีก

นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่ กลุ่มเลี้ยงแพะ/วิสาหกิจชุมชนอาชีพเลี้ยงแพะ และชมรมผู้เลี้ยงแพะระดับจังหวัด และเครือข่ายแพะระดับเขต/ระดับประเทศ บูรณาการขับเคลื่อนกิจกรรมในพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานทางเทคนิควิชาการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยยึดถือกลุ่ม/ชมรม/เครือข่ายเลี้ยงแพะ เป็นเป้าหมายเดียวกัน เพื่อให้เกิดผลสำฤทธิ์ต่อเกษตรกร และกลุ่มเลี้ยงแพะเป็นสำคัญ

แผ่นภาพแสดงการขับเคลื่อนส่งเสริมและพัฒนาแพะ คณะกรรมการยุทธศาสตร์แพะระดับประเทศ/เขต/จังหวัด เครือข่ายเกษตรกร ในเขต 1,6,7,8 และ 9 และระดับจังหวัด 40 จังหวัด จำนวน 445 กลุ่ม เกษตรกร 5,900 ราย แพะ 154,900 ตัว ยุทธศาสตร์พัฒนาแพะระดับประเทศ/เขต/จังหวัด แผนปฏิบัติการ สร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม/ชมรมจังหวัด/เครือข่าย ระดับเขต/ ระดับประเทศและธุรกิจการแปรรูป และการตลาด

กิจกรรมขับเคลื่อนกลุ่ม/ชมรมแพะจังหวัด/เครือข่ายระดับเขต - ประเทศ ระดับประเทศ ระดับเขต ชมรมจังหวัด กลุ่มผู้เลี้ยงแพะ เวทีจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม - งานแพะแห่งชาติ - ประกวดกลุ่ม ดีเด่น - ประกวดเกษตรกร ดีเด่น - กรรมการ ตัดสินการประกวดแพะ รับรองฟาร์มผลิต และรับรองสายพันธุ์แพะ เวทีจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม - งานแพะระดับเขต - ประกวดกลุ่ม ดีเด่น - ประกวดเกษตรกร ดีเด่น - กรรมการ ตัดสินการประกวดแพะ รับรองฟาร์มผลิต และรับรองสายพันธุ์แพะ เวทีจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม - งานแพะระดับจังหวัด - ประกวดกลุ่ม ดีเด่น - ประกวดเกษตรกร ดีเด่น ฟาร์มสาธิต/ศูนย์เรียนรู้ โรงเชือดแพะมาตรฐานระดับชุมชน จุดสาธิตสถานที่แปรรูป และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ จากแพะ เวทีจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม - อบรม/ถ่ายทอดเทคโนโลยี ฟาร์มสาธิต/ศูนย์เรียนรู้ อาสาปศุสัตว์ประจำกลุ่ม/กองทุนเวชภัณฑ์-อาหาร อาสาผสมเทียมประจำกลุ่ม ลดต้นทุน โดยใช้หญ้า สด/หมัก ใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่น แพะขุน/กึ่งขุน แปรรูป เพิ่มมูลค่า เป็นผลิตภัณฑ์ ต่างๆ ส่งเสริมการบริโภค และสาธิตการตลาด : ร้านค้าชุมชน

ยุทธศาสตร์พัฒนาแพะระดับประเทศ/เขต/จังหวัด งบ.กรมปศุสัตว์ งบ.จังหวัด/กลุ่มจังหวัด งบ.อปท. และอื่นๆ แผนงานโครงการพัฒนาแพะ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ดำเนินการทุกกลุ่ม/ราย เพิ่มมูลค่า ลดต้นทุนการผลิต ผลิตเป็นแพะพันธุ์ดี ผลิตเป็นแพะขุน แปรรูปเป็นอาหาร/ผลิตภัณฑ์ แปลงพืชอาหารสัตว์คุณภาพดี/ ผลผลิตสูง ใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่น/ที่มี ราคาถูก เพิ่มอัตราการเกิด/แม่/ปี ลดอัดตราการตาย

แนวทาง : โครงการ โครงการ หนึ่งศูนย์ (ศวป.เขต) หนึ่งผลิตภัณฑ์ (แพะ) • One center one product. (แพะ) ใน ศวป. เขต 1, 6, 7, 8 และ 9 • งบประมาณ – ใช้งบ. หมุนเวียน ของ กรมฯ สนับสนุนปัจจัยการผลิตที่จำเป็น - ใช้ งบ ส.ส.ส. สนับสนุน เป็นปัจจัยการผลิตพื้นฐาน เช่น : ถังหมัก, เครื่องหั่น, ค่าวัสดุการเกษตรจัดทำแปลงหญ้าเนเปียร์ ค่าอาหารข้น/แร่ธาตุ/เวชภัณฑ์ ค่าจัดหาพันธุ์แพะ สำหรับขุน เป็นต้น • ศวป. เขต ร่วมกับ กลุ่มผู้เลี้ยงแพะ ที่มีศักยภาพ ผลิต และเชือดส่งซากแพะให้ กลุ่มวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สัตว์ หรือ ศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมปศุสัตว์ จัดทำเป็นผลิตภัณฑ์ ต่างๆ ที่ตลาดต้องการ ส่งคืนให้ ศวป.เขต ไปสาธิต และส่งเสริมการตลาด ที่จุดหรือร้านค้าชุมชน • บาง ศวป.เขต สามารถร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่ ดำเนินการจัดทำเป็นผลิตภัณฑ์เองได้

ข. โครงการลดต้นทุนการผลิตแพะ • ดำเนินการในจังหวัด พื้นที่ เขต 1, 6, 7, 8 และ 9 ร่วมกับ ศวป.เขต • แนวทางการโดยให้แต่ละ ศวป.เขต ดำเนินงานโดยเก็บข้อมูลต้นทุนการเลี้ยงแพะ 2 รูปแบบ ได้แก่ 1. แพะที่เลี้ยงด้วยหญ้าคุณภาพดี จำนวน 10 ราย 2. แพะที่เลี้ยงในสภาพทั่วไป จำนวน 10 ราย • สนับสนุน เป็นปัจจัยการผลิตพื้นฐานแก่เกษตรกรที่เลี้ยงแพะในรูปแบบที่ 1 เช่น : ถังหมัก, เครื่องหั่น, ค่าวัสดุการเกษตรจัดทำแปลงหญ้าเนเปียร์ ค่าอาหารข้น/แร่ธาตุ/เวชภัณฑ์ สำหรับขุน เป็นต้น • เก็บข้อมูลการเลี้ยงแพะ 1 รอบการผลิต แล้วเปรียบเทียบต้นทุนการเลี้ยงแพะ รายได้ผลตอบแทน จากการจำหน่ายแพะ ทั้ง 2 รูปแบบ

ค. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตแพะ • ดำเนินการในจังหวัด พื้นที่ เขต 1, 6, 7, 8 และ 9 ร่วมกับ ศวป.เขต • สนง.ปศจ. ร่วมกับกลุ่มผู้เลี้ยงแพะ สำรวจและคัดเลือกฟาร์มแพะที่ มีอัตราการตายของลูกแพะช่วงแรกเกิด – หย่านม สูง และฟาร์มที่มีอัตราการให้ลูก ต่อแม่/ปี ต่ำ โดยร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปปรับปรุงวิธีการจัดการเลี้ยง และพิจารณาจัดทำแปลงหญ้าเนเปียร์ฯ หรือพืชอาหารสัตว์ ชนิดอื่นๆ ที่เหมาะสมในฟาร์มเกษตรกรที่มีความพร้อม • เร่งรัด การจัดทำฟาร์มปลอดโรค บรูเซลโลซีส ในกลุ่มผู้เลี้ยงแพะทุกกลุ่ม อย่างน้อย กลุ่มละ 3 ราย