คำขวัญจังหวัดอุดรธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รัตนา ธีระวัฒน์ มยุรฉัตร เบี้ยกลาง วราลักษณ์ ตังคณะกุล
Advertisements

กิจกรรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
วิธีการทางสุขศึกษา.
บรรยายพิเศษ นโยบายและทิศทางการพัฒนามุม มสธ. ในห้องสมุดประชาชน กศน.
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ผลการประชุมกลุ่ม โรคหนอนพยาธิ ๒๕๕๗.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น จังหวัดเพชรบุรี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
จังหวัดนครปฐม.
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
สรุปการประชุม เขต 10.
อาสาสมัครสาธารณสุขดีเด่น สาขาควบคุมโรคติดต่อ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
จุฑาทิพย์ ชมภูนุช สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การดำเนินงาน และพัฒนายุวเกษตรกร
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สาขาโรคมะเร็ง.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แนวทางรณรงค์ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกของชาติ ด้วยยุทธศาสตร์ “รวมพลัง เอาชนะไข้เลือดออก”
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
กำจัดพยาธิใบไม้ตับ ลดมะเร็งท่อน้ำดี
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำขวัญจังหวัดอุดรธานี น้ำตกจากสันภูพาน อุทยานแห่งธรรมะ อารยธรรมห้าพันปี ธานีผ้าหมี่ขิด แดนเนรมิตหนองประจักษ์ เลิศลักษณ์กล้วยไม้หอม อุดรซันไฌน์

ผลการดำเนินงานควบคุมโรคหนอนพยาธิในพื้นที่เสี่ยงสูง จังหวัดอุดรธานี ปี 2545

ผลการดำเนินงานควบคุมโรคหนอนพยาธิในพื้นที่เสี่ยงสูง จังหวัดอุดรธานี ปี 2545 พื้นที่ดำเนินการ เลือกพื้นที่ดำเนินการ 4 อำเภอ ได้แก่ - อำเภอหนองวัวซอ , บ้านผือ, เพ็ญ , บ้านดุง โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจหาความชุกของพยาธิใบไม้ตับ ในปีงบประมาณ 2544

คัดเลือกหมู่บ้านดำเนินการ จำนวน 30 หมู่บ้าน อำเภอหนองวัวซอ 8 หมู่บ้าน อำเภอบ้านผือ 8 หมู่บ้าน อำเภอบ้านดุง 7 หมู่บ้าน อำเภอเพ็ญ 7 หมู่บ้าน

วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีในการป้องกันและควบคุม โรคหนอนพยาธิ เป้าหมาย 1. เพื่อลดอัตราความชุกของโรคพยาธิใบไม้ตับ ให้เหลือไม่เกินร้อยละ 10 2. ประชาชนได้รับการตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิ ร้อยละ 30 ของประชากร และได้รับการบำบัด ด้วยยาทุกรายที่ตรวจพบไข่พยาธิ

แนวทางในการดำเนินงานควบคุมโรคหนอนพยาธิ 1. การกำจัดแหล่งแพร่โรคในคน 1.1 การตรวจอุจจาระเพื่อการวินิจฉัยโรค - ฝึกอบรมพนักงานจุลทัศนกร - จัดหาวัสดุวิทยาศาสตร์ - ซ่อมบำรุงกล้องจุลทรรศน์ - ตรวจอุจจาระในประชาชนเชิงรุก-รับ - ควบคุมมาตรฐานด้าน LAB

1.2 การรักษาโรคหนอนพยาธิ - จัดหาและสนับสนุนยา 2. การป้องกันการติดโรคเฉพาะบุคคล 3. การป้องกันการแพร่โรคในชุมชน 4. การพึ่งตนเองและมีส่วนร่วมของชุมชน

รูปแบบขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงาน 1. จัดประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 2. คัดเลือกพื้นที่ดำเนินการ 3.จัดอบรมพนักงานจุลทัศนกร หลักสูตร 5 วัน ( วันที่ 10 - 14 มิถุนายน 2545 ) 4. เตรียมชุมชน , เก็บอุจจาระส่งตรวจ , แจ้งสถานการณ์โรคพยาธิใบไม้ตับให้ประชาชนทราบ 4.1 รณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับพยาธิใบไม้ตับในชุมชน และ โรงเรียน

รูปแบบขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงาน(ต่อ) 5. จัดประชุมปฏิบัติการงานควบคุมโรคหนอนพยาธิใน พื้นที่เสี่ยงสูง (วันที่ 6 สิงหาคม 2545) 6. จัดเวทีประชาคมแก่แกนนำชุมชน เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ตลอดจนกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม กำหนดรูปแบบดำเนินการโดยเน้นการสร้างชุมชนให้ เข้มแข็ง ด้วยกระบวนการ AIC (วันที่ 8-9 ส.ค. 2545)

รูปแบบขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงาน(ต่อ) 6.1 จัดเวทีชาวบ้าน ให้ประชาชนรู้จักวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง 6.2 จัดบอร์ดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้เรื่องโรค พยาธิใบไม้ตับในโรงเรียน 6.3 จัดบรรยายพิเศษให้ความรู้แก่นักเรียนเรื่อง บริโภคสุก สะอาด ปราศจากโรคพยาธิ

รูปแบบขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงาน(ต่อ) 6.4 อบรมอาสาสมัครนักเรียน จำนวน 30 โรงเรียน 7. ประเมินอัตราความชุกของพยาธิใบไม้ตับว่าลดลงหรือไม่ 8. ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ

ผชช.ว.กล่าวเปิดการอบรมพนักงานจุลทัศนกร กำลังฝึกภาคปฏิบัติอย่างตั้งใจ

การอภิปรายหมู่การดำเนินงานควบคุมหนอนพยาธิให้สำเร็จ แกนนำชุมชน

นพ.สสจ.อุดรธานีกล่าวเปิดการประชุมปฏิบัติการ

พญ. ประภาศรี กล่าวความเป็นมาของโครงการควบคุมหนอนพยาธิ

อ. จันทร์เพ็ญ จากกองสุขศึกษา อ.อมรรัตน์ วิทยากรจาก สคต. 6 ขอนแก่น

ระยะเวลาดำเนินการ ผลการดำเนินการ พฤษภาคม 2545 - กันยายน 2545 ผลการตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิ 30 หมู่บ้าน พบว่ามีอัตราความชุกเฉลี่ยร้อยละ จัดอบรมพนักงานจุลทัศนกรใหม่จำนวน 29 ราย ป้องกันโรคหนอนพยาธิด้วยพลังชุมชน (เน้นการมีส่วนร่วม)

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ 1. ประชาชนมีวัฒนธรรมการบริโภคสืบทอดจากบรรพบุรุษ โดยเชื่อว่ารับประทานอาหารปลาดิบแล้วจะแข็งแรง 2. พฤติกรรมการขับถ่าย ยังถ่ายนอกส้วมเป็นบางครั้ง เนื่องจากพื้นที่เป็นป่า , ภูเขา และมีลำน้ำไหลผ่าน

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ(ต่อ) 3. จัดทำโครงการโรงเรียนปลอดพยาธิ โดยให้คณะครูในโรงเรียน มีส่วนรับผิดชอบและมีบทบาทในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน เพื่อให้นักเรียน ครอบครัว ชุมชนมีการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการบริโภคและพฤติกรรมอื่น ๆ ที่เอื้อต่อการเป็น โรคพยาธิใบไม้ตับ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวอย่างต่อเนื่อง

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ(ต่อ) 4. พัฒนากลวิธีทางสุขศึกษาและประชาสัมพันธ์และสนับสนุน การดำเนินงานให้อย่างพียงพอและต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ปลอดภัยจากการติดโรค และการแพร่ โรคพยาธิใบไม้ตับ โดยอาศัยการมีส่วนร่วม ของ องค์กร ในท้องถิ่น สื่อมวลชน ศิลปินพื้นบ้าน และผู้นำชุมชน ทุกระดับ

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี สวัสดี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี