พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
Advertisements

ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Computer Language.
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ Data Types and Operator (บทที่ 3)
Introduction to C Programming
Department of Computer Business
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
Lecture no. 2: Overview of C Programming
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
ส่วนของการเขียนโค๊ด ใน VB การเขียนโค๊ดจะเป็นแบบ Event Driven
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 2 ประเภทข้อมูล (DATA TYPE)
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรและชนิดข้อมูล (Variables and Data Types)
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ นิพจน์ในภาษา C
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
C# Programming Exceed Camp: Day 3.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวดำเนินการ(Operator)
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
โปรแกรมยูทิลิตี้.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
Overview of C Programming
กองซ้อน ยอดกองซ้อน (stack).
คำสั่งรับค่าและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#

เนื้อหา โครงสร้างโปรแกรม ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์ คำสั่งแสดงผล

โปรแกรมภาษา C# พิจารณาโปรแกรมต่อไปนี้ namespace HelloW { class HelloWClass { static void Main () { System.Console.WriteLine("Hello World!"); System.Console.ReadLine(); }

โปรแกรมภาษา C# ตัวอักษรเล็ก/ใหญ่มีความสำคัญ คำสั่งทุกคำสั่งต้องปิดท้ายด้วยเซมิโคลอน (;) จำนวนช่องว่าง (ทั้งแนวตั้งแนวนอน) ไม่มีผลต่อการทำงาน ใช้เครื่องหมายปีกกา {} จับกลุ่มคำสั่ง ข้อความที่อยู่ระหว่าง /* */ หรือหลัง // ถือเป็นคอมเม้นต์ ซึ่งไม่มีผลต่อการทำงานของโปรแกรม

โครงสร้างของโปรแกรม จุดเริ่มต้นของโปรแกรมจะอยู่ที่: เรียกว่าเมท็อด Main เมท็อดต้องอยู่ภายใต้คลาส (class) คลาสอาจอยู่ภายใต้เนมสเปส (namespace) หรือไม่ก็ได้ static void Main () { ... starting point ... }

โครงสร้างของโปรแกรม คลาสเปรียบเสมือนกล่องบรรจุเมท็อดหลาย ๆ เมท็อด เนมสเปสเปรียบเสมือนกล่องบรรจุคลาสหลาย ๆ คลาส เนมสเปสอาจอยู่ภายใต้เนมสเปสอื่นได้อีก โปรแกรมหนึ่ง ๆ อาจประกอบด้วยหลายเนมสเปส หรืออาจไม่อยู่ในเนมสเปสใด ๆ เลยก็ได้ Namespace Class method1 method2

โครงสร้างของโปรแกรม สำหรับโปรแกรมอย่างง่าย โปรแกรมประกอบด้วยคลาสเพียงคลาสเดียว โปรแกรมอาจประกอบด้วยเมท็อด Main เพียงเมท็อดเดียว namespace HelloW { class HelloWClass { static void Main () { System.Console.WriteLine("Hello World!"); System.Console.ReadLine(); }

คำสั่ง (Statement) คำสั่งใช้อธิบายการทำงานของโปรแกรมในแต่ละขั้นตอน เมท็อดถูกสร้างขึ้นจากคำสั่งตั้งแต่หนึ่งถึงหลายคำสั่ง Statement#1 class Hello { static void Main () { System.Console.WriteLine("Hello World!"); System.Console.ReadLine(); } Statement#2

คำสั่ง (Statement) Class Namespace namespace HelloW { class HelloWClass { static void Main () { System.Console.WriteLine("Hello World!"); System.Console.ReadLine(); } Namespace Class method1 method2 Statement#1 Statement#2 :

การตั้งชื่อ ทั้งเมท็อด คลาส เนมสเปส ต้องมีการตั้งชื่อกำกับ ในภาษา C# มีกฎการตั้งชื่อดังนี้ ขึ้นต้นด้วยอักขระภาษาอังกฤษ (A-Z, a-z) หรือตัวขีดเส้นใต้ (_) ส่วนที่เหลือประกอบด้วยอักขระภาษาอังกฤษ ตัวเลข หรือตัวขีดเส้นใต้ ความยาวสูงสุด 63 ตัวอักษร ต้องไม่ซ้ำกับคำสงวน (reserved words) เช่น class, namespace ตัวอย่างชื่อที่ถูกกฎ hEllO, E3_32ab, X_x_X022 ตัวอย่างชื่อที่ผิดกฎ 32ABC, A.2, C#Program, while

คำสงวน คำเหล่านี้ห้ามนำไปใช้เป็นชื่อในภาษา C#

ตัวแปร (Variable) ตัวแปรใช้สำหรับเก็บค่าของข้อมูล การประกาศตัวแปร การกำหนดค่าให้ตัวแปร ตัวอย่าง <type> <name>; <name> = <expression>; int width, height; int area; width = 10; height = 20; area = width * height;

ชนิดข้อมูล (Data Type) ขนาด ความหมาย ช่วง bool 1 byte ค่าความจริง (จริง-เท็จ) true / false char 2 byte อักขระโดด character code 0...65535 sbyte จำนวนเต็ม -128...127 byte จำนวนเต็มไม่ติดลบ 0...255 short 2 bytes -32,768...32,767 ushort 0...65535 int 4 bytes -2.1 x 109...2.1 x 109 uint 0...4.3 x 109 long 8 bytes -9.2 x 1018...9.2 x 1018 ulong 0...1.8 x 1019 float จำนวนจริง ±1.5x10-45...±3.4x1038 double จำนวนจริงความละเอียดสองเท่า ±5.0x10-324...±1.7x10308 decimal 16 bytes จำนวนจริงความละเอียดสูง ±1.0x10--28...±7.9x1028 string N/A สายอักขระ

การกำหนดค่าให้ตัวแปร เราสามารถกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรได้พร้อมกับการประกาศตัวแปรนั้น ๆ ได้ทันที ตัวอย่าง int width = 10, height = 20; int area; area = width * height;

นิพจน์ (Expressions) นิพจน์เป็นส่วนหนึ่งของคำสั่งที่ถูกประเมินเป็นค่าได้ อาจเป็นค่าโดดหรือประกอบขึ้นมาจากนิพจน์ที่เล็กกว่า ตัวอย่างของนิพจน์ที่เป็นค่าโดด ตัวเลข  3212, 3.1415 อักขระ  'C' ค่าความจริง  true or false ข้อความ  "Hello, World" ตัวแปรหรือค่าคงที่  x, myName

นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ (arithmetic expression) คือนิพจน์ที่ถูกตีความเป็นค่าจำนวน นิพจน์ทางคณิตศาสตร์สามารถนำมาประกอบเป็นนิพจน์ที่ซับซ้อนขึ้นได้โดยอาศัยตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (arithmetic operators) +, -, *, / % (ให้ค่าเศษจากการหาร) ตัวอย่าง 11+5  16 11/2  5 11.0/2  5.5 11%2  1 5.0%2.2  0.6

ลำดับการคำนวณ (Precedence Rules) ( ) *, / , % +, – ซ้ายไปขวา int Width,Height; Width = 10*5+(16 * 12)/5; Height = (16+5)+20%2;

การหารแบบจำนวนเต็ม การหารนิพจน์ที่เป็นจำนวนเต็มสองจำนวนให้ผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็มเสมอ เศษจะถูกปัดทิ้ง หากตัวตั้งและ/หรือตัวหารเป็นจำนวนทศนิยม (float หรือ double) การหารจะคำนวณทศนิยมให้ int i1 = 10, i2 = 8; double f1 = 10, f2 = 8; double r1 = i1/i2; // r1 = 1 double r2 = f1/f2; // r2 = 1.25 double r3 = f1/i2; // r3 = 1.25 double r4 = i1/f2; // r4 = 1.25 double r1 = 10/8; // r1 = 1 double r2 = 10.0/8.0; // r2 = 1.25 double r3 = 10.0/8; // r3 = 1.25 double r4 = 10/8.0; // r4 = 1.25

คำสั่ง using การใช้คำสั่ง using <ชื่อเนมสเปส> ที่ต้นโปรแกรมเป็นการระบุว่าเราต้องการเรียกใช้งานคลาสในเนมสเปสนั้น ๆ ตัวอย่าง: คลาส Console อยู่ในเนมสเปส System class Hello { static void Main () { System.Console.WriteLine("Hello World!"); System.Console.ReadLine(); } using System; class Hello { static void Main () { Console.WriteLine("Hello World!"); Console.ReadLine(); }

คำสั่งสำหรับแสดงผลทางหน้าจอ ใช้คำสั่ง Write หรือ WriteLine ซึ่งอยู่ในคลาส Console (ซึ่งอยู่ในเนมสเปส System อีกทีหนึ่ง) การใช้งานพื้นฐาน: การใช้งานชั้นสูง: Console.WriteLine("Hello"); Console.WriteLine(area); Console.WriteLine(”Size {0}x{1}”, width, height); double salary=12000; Console.WriteLine("My salary is {0:f2}.", salary);