11.7 วิธีการศึกษา Soil Erosion 10.7.1 Observation Method 10.7.1.1 การวัด Soil erosion โดยใช้การขึงลวดปล่อยดิ่ง ระดับดินเดิม ระดับดินใหม่ ระดับดินเดิม ระดับดินใหม่
11.7.1.2 วิธีปักหมุด (Spike Method) ระดับดินเดิม ระดับดินใหม่
11.7.2 Research Experiment 10.7.2.1 Soil erosion plot Uniform site ต้องมี slope เท่ากัน Aspect เหมือนกัน Elevation เท่ากัน etc. - ท่อจากถังตะกอนที่ 1 ไปยังถังตะกอนที่ 2 มี 1 ช่อง - ปล่อยให้น้ำไหลล้นจากถังที่ 1 จำนวน 9 ช่อง
แปลงทดลองในพื้นที่การเกษตร (สับปะรด) ( ยางพาราให้ผลผลิตแล้ว)
11.7.2.2 Small watershed study * Weir (เขื่อนวัดน้ำ)
11.7.2.3 ใช้ USLE (Universal Soil-Loss Equation) A = R K C P S L A = Soil loss (tons/acre) R = Rainfall erosive index EI 30max K = Soil Erodibility Factors C = Crop Management Factors P = Conservation Practice Factors S = Slope Factors L = Slope Length Factors สมการ USLE เกิดขึ้นใน USA ซึ่งใช้การศึกษาจากแปลงทดลองทำการเกษตรกรรมจำนวนมากมายทั่วไปประเทศ USA นำมาสรุปเข้าด้วยกันเป็นการกระทำร่วมกันของทุกตัวแปรในสมการ
Soil Loss = f {(Erosivity)(Erodibility)} Soil Physical properties Rainfall Soil Physical properties Management Kinetic Energy (KE) Soil Mgt. Crop Mgt. A = R x K x LS x P x C
User inputs to describe specific site General Flow Chart of USLE Data files previously defined by user User inputs to describe specific site USLE Computations R K LS C P Location Soil Topography Land Use City (Weather) Database Plant Database Operations Database A-USLE Soil Loss Estimate
มโนทัศน์ของการศึกษาวิจัยผลกระทบด้านมลพิษตะกอนในพื้นที่ลุ่มน้ำ กระบวนการยึดนํ้ า ของพืชและการกักเก็บ นํ้ าผิวหน้าดิน ฝน กระบวนการการซึมนํ้ า ผ่านผิวดิน น้ำท่า การกัดชะและเคลื่อนย้าย ตะกอนโดยน้ำบ่าหน้าดิน ตะกอนโดยน้ำฝน สมรรถนะการ พัดพาตะกอน ปริมาณดิน ตะกอนพังหมด ผลผลิต ตะกอน