จัดทำโดย นางสาวนูรีฮา อามะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
ทำเลที่ตั้งสถานศึกษา
ระบบวางแผนพัฒนาการใช้ดิน
ดิน(Soil).
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ดิน ประโยชน์ของดิน สมบัติของดิน ลักษณะของดิน
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
การปั้นหม้อดินบ้านลิพอน
การออกดอกและการสร้างเมล็ดของวัชพืช
Weeds & weed management 2 กันยายน 2556 รู้จักเครื่องมือกำจัดวัชพืช
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
กลุ่มที่19 สมาชิก นาย ศุภชัย โลหะศริ เลขที่ 4
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
โครงงานด้านวิศวกรรม การศึกษาปริมาณการใช้น้ำในการปลูกข้าวแบบเปียกสลับแห้ง.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
II. Post harvest loss of cereal crop
ขั้นตอนวิธีการ การเก็บตัวอย่างดิน 1) เก็บตัวอย่างดินก่อนปลูกพืช ให้กระจายทั่วแปลงประมาณ 10–30 จุดต่อแปลง เก็บตัวอย่างดินระดับความลึกเท่ากับระดับไถพรวน.
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การปลูกพืชกลับหัว.
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
การไถพรวนและเตรียมแปลง ต้องทำการไถพรวนให้ พื้นที่ในแปลงโล่งแจ้ง ปลูกพืชสมุนไพรไล่แมลง ให้ปลูกก่อนที่จะปลูกพืช หลักคือพืชผักต่างๆ ( เสริมกับการป้องกัน.
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
นายสุพจน์ ไชยวรรณ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ฟางข้าวกับยางพารา
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
การส่งเสริมลดต้นทุนการผลิตข้าว อำเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุรี
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
สื่อการเรียนรู้เรื่อง หยุดโลกร้อนด้วยความพอเพียง
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
การปรับพื้นที่สำหรับปลูกหญ้าแพงโกลา ในที่ลุ่มพื้นที่ขนาดใหญ่
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
เรื่อง : โรคของดินที่ควรเฝ้าระวัง
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
การเจริญเติบโตของพืช
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
เทคนิคการจัดการควบคุมน้ำในแปลงหญ้าแพงโกลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จัดทำโดย นางสาวนูรีฮา อามะ 5510610052 การทำนาดำ จัดทำโดย นางสาวนูรีฮา อามะ 5510610052

การทำนาดำ การทำนาดำ เป็นวิธีการทำนาที่มีการนำเมล็ดข้าวไปเพาะในแปลงที่เตรียมไว้ (แปลงกล้า)ให้งอกเป็นต้นกล้า แล้วถอนต้นกล้าไปปักดำในกระทงนาที่เตรียมไว้ และมีการดูแลรักษาจนให้ผลผลิต การทำนาดำนิยมในพื้นที่ที่มีแรงงานเพียงพอ การทำนาดำ มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ การเตรียมดิน การเตรียมดินสำหรับการทำนา ต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อม เช่น น้ำ ภูมิอากาศ ลักษณะพื้นที่ ตลอดจนแบบวิธีการทำนา และเครื่องมือการเตรียมดินที่แตกต่างกัน

การทำนาดำ การเตรียมดินแยกได้เป็น 2 ขั้นตอนคือ 1. การไถดะ และไถแปร การไถดะคือ การไถพลิกหน้าดินครั้งแรกเพื่อกำจัดวัชพืช และตากดินให้แห้ง การไถแปร คือการไถครั้งที่สองโดยไถขวางแนวไถดะ เพื่อย่อยดินและคลุกเคล้าฟาง วัชพืช ฯลฯ ลงไปในดิน ไถ ไถด้วยแรงงานสัตว์ เช่น วัว ควาย รถไถเดินตาม รถแทรกเตอร์ 2. การคราดหรือใช้ลูกทุบ คือการกำจัดวัชพืช ตลอดจนการทำให้ดินแตกตัว และเป็นเทือกพร้อมที่จะปักดำได้ ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ทำต่อจากขั้นตอนที่ 1 และขังน้ำไว้ระยะหนึ่ง เพื่อให้มีสภาพดินที่เหมาะสมในการคราด การใช้ลูกทุบหรือเครื่องไถพรวนจอบหมุน(Rotary)

การทำนาดำ ข้อควรระวังในการเตรียมดิน 1. ควรปล่อยให้ดินนามีโอกาสแห้งสนิท เป็นระยะเวลานานพอสมควร และถ้าสามารถไถพลิกดินล่างขึ้นมาตากให้แห้งได้ก็จะดียิ่งขึ้น ถ้าดินเปียกน้ำติดต่อกันโดยไม่มีโอกาสแห้ง จะเกิดการสะสมของสารพิษ เช่นแก๊สไข่เน่า (ไฮโดรเจนซัลไฟด์) และกรดอินทรีย์ เป็นต้น ซึ่งถ้าสารเหล่านี้มีปริมาณมากก็จะเป็นอันตรายต่อรากข้าวได้