ประชุม war room ควบคุมโรคเขตเมือง ครั้งที่ 2 /2555

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างศูนย์วิชาการเขต กรมควบคุมโรคมี SRRT การจัดทีมระดับเขต นโยบาย – การติดตามสถานการณ์ – สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในคน – จัดทีม.
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การติดตามประเมินผล ปี 2552
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
แผนการดำเนินงาน 15 โครงการหลัก ปีงบประมาณ 2558
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุม war room ควบคุมโรคเขตเมือง ครั้งที่ 2 /2555 ห้องระชุม ร่มโพธิ์ทอง วันที่ 28 กรกฎาคม 2555 เวลา 8.30-16.30

อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งอย่างยั่งยืน (ที่มา) กิจกรรมสำคัญ โรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ คือ วัณโรค โรคที่เป็นปัญหาเชิงนโยบาย คือ ไข้เลือดออก ทุกพื้นที่เป็นส่วนหนึ่งของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ผลักดันเป็นตัวชี้วัดผู้ว่าราชการจังหวัด ปี 2556 อบรม SRRT ทุก รพ.สต เพื่อ PCU มีการเฝ้าระวังเหตุการณ์ และKey event online

ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว : SRRT (Surveillance and Rapid Response Team) เฝ้าระวังโรคติดต่อที่แพร่ระบาดได้รวดเร็วรุนแรง ตรวจจับ public health emergency ออกสอบสวนโรคอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ควบคุมโรคฉุกเฉิน/ขั้นต้น เพื่อหยุดยั้งการแพร่ระบาดไม่ให้ขยายวงกว้าง แลกเปลี่ยนข้อมูลเฝ้าระวังโรค

หลักการทำงานของ SRRT “ตัดไฟแต่ต้นลม” ทีมในพื้นที่เกิดเหตุ ดำเนินการก่อน ทีมในพื้นที่ทีมแรกสุด คือ ทีมระดับอำเภอ

การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ดำเนินการตามพันธกิจด้านกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR2005) จัดทำแผน และซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระดับจังหวัด ๓ ระยะ คือ ก่อน ระหว่าง และภายหลังเกิดเหตุ พัฒนาทีม SRRT

การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข การดำเนินงานกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR2005) ร่วมมือกับนานาชาติในการเฝ้าระวังและรายงานภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public Health Emergency of International Concern, PHEIC) พัฒนาขีดความสามารถของประเทศ ๔ ด้าน ในการรับมือกับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ด้านการเฝ้าระวังสอบสวนโรค ด้านการดูแลผู้ป่วยโรคติดต่ออันตราย ด้านห้องปฏิบัติการ ด้านช่องทางเข้าออกประเทศ 6 6

ยุทธศาสตร์ IHR ด้านการเฝ้าระวัง สอบสวน ควบคุมโรค (2552-2555) 1.พัฒนาทีม SRRT ทุกระดับให้มีขีดความสามารถสูง 2.พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการระดับจังหวัดและส่วนกลาง 3.พัฒนาโรงพยาบาลทุกแห่งในการตรวจจับ PHEIC 4.ส่งเสริมสนับสนุนองค์กรท้องถิ่นให้มีส่วนร่วมดำเนินการ 5.สนับสนุนชุมชนในการเฝ้าระวังโรค/ภัยในชุมชน

การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข การพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ส่งเสริมสนับสนุนขีดความสามารถด้านการสอบสวนและควบคุมการระบาด รวมทั้งการเก็บและนำส่งวัตถุตัวอย่าง พัฒนาและใช้มาตรฐานทีม SRRT ฉบับใหม่ ที่สอดคล้องกับกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR2005) สนับสนุนการจัดตั้งทีม SRRT ท้องถิ่น (เทศบาลนคร/เมือง) พัฒนาหัวหน้าทีม SRRT และผู้สอบสวนหลัก (PI) สนับสนุนทีม SRRT เข้าร่วมการฝึกซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข - แผนรับการระบาดของไข้หวัดใหญ่ 8 8

การพัฒนาประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวัง ข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพ การพัฒนาประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวัง ข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพ พัฒนาระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาให้ครอบคลุมปัญหาที่สำคัญ และเข้มแข็ง มีประสิทธิภาพ พัฒนาแนวทางและมาตรฐานการจัดทำข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพ พัฒนาด้านบริหารจัดการ ในการใช้ประโยชน์ข้อมูล เฝ้าระวังวัณโรคร่วมกับ สปสช. (SMART TB) 9 9

การพัฒนาประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวัง ข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพ การพัฒนาประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวัง ข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพ พัฒนาระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา เร่งรัดความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวัง AEFI และ AFP พัฒนาระบบและมาตรฐานเฝ้าระวังการติดเชื้อ HIVรายใหม่ พัฒนาระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (VIS) พัฒนาระบบเฝ้าระวังสอบสวนการจมน้ำ ตกน้ำ พัฒนาการรายงาน Chronic Diseases Surveillance พัฒนาการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อ 10 10

สรุปแนวทางกรมควบคุมโรค ด้านงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาและ SRRT “งานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา” มีระบบและเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาสำคัญที่ไว และมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการใช้ข้อมูลข่าวสารทางระบาดวิทยาในการเตือนภัย ปรับมาตรการ และจัดทำแผน/ยุทธศาสตร์ ส่งสัญญาณเตือนแจ้งทีม SRRT รวดเร็วทันเหตุการณ์ 11 11

สรุปแนวทางกรมควบคุมโรค ด้านงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาและ SRRT มีทีมที่มีขีดความสามารถสูงได้มาตรฐานตาม IHR ทุกหน่วยงาน ตั้งแต่ระดับท้องถิ่นถึงระดับชาติ สามารถปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขได้ทันที ทุกระดับความรุนแรง เป็นทีมข่าวกรองที่ช่วยตรวจสอบข่าวสารการเฝ้าระวังฯ 12 12

สรุปแนวทางกรมควบคุมโรค ด้านงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาและ SRRT “บูรณาการงานระบาดวิทยา” งาน IHR (เฝ้าระวังโรคระหว่างประเทศ) งานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยาคลินิก (ใน ร.พ.) งาน SRRT 13 13

งานระบาดวิทยา ด้านการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่สำคัญ ทบทวนการส่งรายงาน 506 การประสานการสอบสวนโรค รายงานการสอบสวน (เดิม) ด้านการสอบสวนโรคและภัยสุขภาพ ไม่มีการสอบสวน มีการสอบสวนแต่ไม่สมบูรณ์ เช่น กำหนดนิยามไม่ถูกต้อง เก็บตัวอย่างไม่ได้ ไม่ครบ ตามสอบไม่ได้ ใช้แบบสอบสวนไม่ถูกต้อง เหมาะสม ฯลฯ

ปัญหาการเขียนรายงานและแนวทางแก้ไข มีการสอบสวนแต่ไม่เขียนรายงานการสอบสวน เขียนรายงานการสอบสวนแต่ไม่รายงาน เขียนรายงานการสอบสวนและรายงาน ทบทวนการเขียนรายงาน – เบื้องต้น /กึ่งสมบูรณ์ / สมบูรณ์ ทบทวนส่งรายงานการสอบสวน – ส่งเมื่อไหร่ / ส่งผ่านใคร /ส่งอย่างไร ข้อสรุปเหตุการณ์ที่ต้องสอบสวนและเขียนรายงานการสอบสวนเบื้องต้น

งานระบาดวิทยา ทบทวนขั้นตอนการเก็บ lab ส่งตรวจในงานระบาดวิทยา แจ้งจังหวัดบันทึกในสมุดเฝ้าระวัง ส่งแบบสอบพร้อมตัวอย่างที่ศูนย์วิทย์อุดร ศูนย์วิทย์แจ้ง สคร.6 ขอสนับสนุนเงินค่าตรวจ ศูนย์วิทย์ แจ้งผล lab แก่ รพ./สำเนาเรียน สสจ. เฝ้าระวังระบาดของโรคในชาวต่างชาติ โรคที่ต้องรายงานที่สำคัญ

โรคที่ต้องรายงานภายใน 24 ชั่วโมง 1. ไข้หวัดนก 2. อหิวาตกโรค 3. ไข้กาฬหลังแอ่น 4. ไข้คอตีบ 5. ไข้สมองอักเสบ 6. ปอดอักเสบ 7. พิษสุนัขบ้า 8. แอนแทรกซ์ 9. บาดทะยักในทารกแรกเกิด 10. กล้ามเนื้ออัมพาตอ่อน ปวกเปียกแบบเฉียบพลัน 11. AEFI

โรคเร่งด่วนที่ต้องรายงานภายใน 4 วัน 1. บิด 2. ไข้หวัดใหญ่ 3. หัด 4. ไอกรน 5. ไข้เดงกี่ (Dengue Fever) 6. ไข้เลือดออก 7. ไข้เลือดออกช๊อค (DSS) 8. เลปโตสไปโรซิส 9. Hand Foot Mouth Disease (HFMD)

โรคติดต่อสำคัญที่ต้องรายงานภายใน 1 สัปดาห์ 1. อุจจาระร่วง 2. อาหารเป็นพิษ 3. Enteric Fever 4. Typhoid 5. Paratyphoid 6. Salmonellosis 7. ตับอักเสบ 8. โรคตาแดง 9. หัดเยอรมัน 10. สุกใส 11. ไข้ที่ไม่พบความผิดปกติ (FWLS) 12. โปลิโอมัยเอไลติส 13. บาดทะยัก 14. มาลาเรีย 15. วัณโรคปอด และอวัยวะอื่น ๆ 16. สคับไทฟัส 17. ทริคิโนซิส 18. คางทูม 19. Meningitis 20. Herpangina

SRRT