การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2558
งบประมาณ โครงการการดำเนินงานด้านโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพและโฆษณาสถานพยาบาล จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 100,000 บาท (งบสป.) โครงการเฝ้าระวังการโฆษณาในสื่อวิทยุชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2558 จำนวน 75,000 บาท (งบอย.)
ร้อยละ 100 ของการโฆษณาด้านสุขภาพที่ผิดกฎหมายได้รับการจัดการ ตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2558 ร้อยละ 100 ของการโฆษณาด้านสุขภาพที่ผิดกฎหมายได้รับการจัดการ
แนวทางการดำเนินงาน 1. ประชุมชี้แจงผู้อำนวยการคลื่นวิทยุระดับจังหวัด 2. อบรมเครือข่ายเจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมกับดีเจคลื่นวิทยุจังหวัดเชียงใหม่ เป้าหมาย 60 คน (อำเภอนำร่อง 5 อำเภอ+ดีเจ) 3. ประชุมเชิงปฎิบัติการผลิตสื่อและการประชาสัมพันธ์ ดีเจหน้าใหม่ เป้าหมาย 40คน (เจ้าหน้าที่อำเภอ) 4. สนับสนุนกิจกรรมระดับอำเภอ อำเภอนำร่อง 5 อำเภอ อำเภอละ 5000 บาท อำเภอทุกอำเภอ 25 อำเภอ อำเภอละ 1000 บาท 5. รณรงค์ “ผู้บริโภครู้ทันสื่อ” - ประชาสัมพันธ์ประชาชนพบเห็นโฆษณาไม่ถูกต้องรับเงินรางวัล200บาท
แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) 6. จัดทำเวปไซด์กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ www.fdachiangmai.com ประชาชนทั่วไป - ประชาสัมพันธ์กิจกรรมงานคุ้มครองผู้บริโภค - เผยแพร่ ความรู้ เตือนภัยเร่งด่วน - ร้องเรียนผ่านเวป - ข้อมูลสถานประกอบการ , การขออนุญาต , กฎหมาย เจ้าหน้าที่ - ติดต่อเวปบอร์ด , ส่งงาน , แจ้งข่าวประชุมอบรม (fdachiangmai@gmail.com / facebook : fda chiangmai)
เอกสารที่แจกให้วันนี้ แบบฟอร์มเฝ้าระวังโฆษณา ความรู้เกี่ยวกับการโฆษณา
งบสนับสนุน สนับสนุนกิจกรรมระดับอำเภอ อำเภอนำร่อง 5 อำเภอ อำเภอละ 5000 บาท อำเภอสันกำแพง อำเภอแม่ริม อำเภอสันทราย อำเภอสารภี อำเภอแม่แตง อำเภอทุกอำเภอ 25 อำเภอ อำเภอละ 1000 บาท
กรอบงานเฝ้าระวังสื่อโฆษณา กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด แผนการดำเนินงาน (เดือน) แนวทางการดำเนินงาน 1. การพัฒนาเครือข่าย 1.1 เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังสื่อโฆษณาทุกภาคส่วน 1.2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของดีเจ,เจ้าหน้าที่,อย.น้อย ในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง วิทยุชุมชน ,ดีเจ, เจ้าหน้าที่สาธารณสุข, อย.น้อย ร้อยละ100 เกิดเครือข่ายเฝ้าระวังสื่อโฆษณา 1.ประชุม/อบรมชี้แจงผู้อำนวยการคลื่นวิทยุ เครือข่ายเจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมกับ ดีเจคลื่นวิทยุจังหวัดเชียงใหม่ ด้านการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ 3. การเฝ้าระวัง รณรงค์ 3.1 เพื่อตรวจสอบเฝ้าระวังสื่อโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพและสถานพยาบาล 3.2เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ประชาชน ร้อยละ100 เครือข่ายสามารถดำเนินการเฝ้าระวังสื่อโฆษณาในพื้นที่ ร้อยละ100เครือข่ายสามารถผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ได้ 1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ทางสื่อบอร์ดโปรสเตอร์ แผ่นพับ 2.ประชาสัมพันธ์ความรู้ทางวิทยุ 4.การดำเนินการเรื่องร้องเรียน 4.1 เพื่อพัฒนาระบบการดำเนินการแก้ไข/ดำเนินคดีกรณีพบการกระทำผิดหรือดำเนินการเรื่องร้องเรียนระดับอำเภอได้อย่างมีประสิทธิภาพ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร้อยละ100ของการพบการโฆษณาที่ไม่ถูกต้องได้ดำเนินการแก้ไข 1.ดำเนินการจัดศูนย์รับเรื่องร้องเรียน 2.พบการโฆษณาที่ไม่ถูกต้องดำเนินการแก้ไขโดยคณะกรรมการระดับอำเภอ
การส่งรายงาน แบบฟอร์มเฝ้าระวังโฆษณาหากพบมีการ โฆษณาไม่ถูกต้อง ส่งได้ตลอดที่งานคบ. งานRoutine (ส่งสรุปกรกฎาคม 2558) ได้แก่ - การอบรมความรู้ - การแจกสื่อ / แผ่นพับ - การสร้างเครือข่ายแจ้งเบาะแส / เก็บภาพ / บันทึกเสียง - ร้องเรียน
สวัสดี