หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
การวิเคราะห์ความเร็ว
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
เวกเตอร์และสเกลาร์ ขั้นสูง
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
อสมการ.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
ว ความหนืด (Viscosity)
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องงาน
ระบบอนุภาค.
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Introduction to Statics
Equilibrium of a Particle
การหาเซตคำตอบของอสมการ
ทบทวนอสมการกำลัง1. ทบทวนอสมการกำลัง1 การหาเซตคำตอบของอสมการ ตัวอย่าง.
(Internal energy of system)
52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
กิจกรรมชุดที่ 11 สมดุลของคาน.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
กิจกรรมชุดที่ 6 มาวัดแรงกันเถอะ Let’s go !.
กิจกรรมชุดที่ 10 รู้จักแรงเสียดทาน.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง

แรง ความหมายของแรง แรงลัพธ์

ความหมายของแรง แ

แรง แรง คือ ปริมาณที่กระทำกับวัตถุแล้วเป็นผลให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงใน 4 ลักษณะ ดังนี้ 1. วัตถุที่หยุดนิ่งอาจเริ่มเคลื่อนที่ได้ 2. ความเร็วของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่อาจเปลี่ยนแปลงได้ 3. ทิศทางของการเคลื่อนที่ของวัตถุอาจเปลี่ยนแปลงได้ 4. วัตถุอาจมีรูปร่างหรือขนาดเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ ซึ่งสามารถบอกขนาดและทิศทางได้ ค่าของแรงมีหน่วยวัดเป็น นิวตัน (N) โดยคำนวณได้จากผลคูณของน้ำหนักกับความเร่งของวัตถุ หรือวัดได้โดยตรงจากเครื่องมือวัด เช่น เครื่องชั่งสปริง

แรงลัพธ์ แ

แรงลัพธ์จะมีขนาดเท่ากับผลบวกของขนาดของแรงย่อย ดังสมการ ในกรณีมีแรงมากระทำกับวัตถุ 2 แรงขึ้นไป (ทิศทางเดียวกัน ทิศทางตรงข้ามกัน หรือหลายทิศทางพร้อมๆ กัน) ต้องหาผลรวมของขนาดและทิศทางของแรงทั้งหมด หรือแรงลัพธ์ เพื่ออธิบายการเปลี่ยนแปลงนั้น การหาแรงลัพธ์ของแรงที่กระทำกับวัตถุในทิศทางเดียวกัน แรงลัพธ์จะมีขนาดเท่ากับผลบวกของขนาดของแรงย่อย ดังสมการ

ตัวอย่าง

ตัวอย่าง

การหาแรงลัพธ์ของแรงที่กระทำกับวัตถุในทิศทางตรงข้าม กำหนดให้ทิศทางของแรงที่ไปทางหนึ่งเป็นบวก และแรงที่มีทิศทางตรงข้ามเป็นลบ แรงลัพธ์จะมีขนาดเท่ากับผลต่างของขนาดของแรงย่อย ส่วนทิศทางของแรงลัพธ์จะขึ้นกับขนาดของแรงย่อย โดยวัตถุจะเคลื่อนที่ไปในทิศทางของแรงย่อยที่มีขนาดมากกว่า แต่ถ้าแรงย่อยมีขนาดเท่ากัน วัตถุจะไม่เคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง โดยแรงลัพธ์สามารถหาได้ ดังสมการ

ตัวอย่าง

ตัวอย่าง

ในกรณีที่แรงลัพธ์เป็นศูนย์ วัตถุจะรักษาสภาพการเคลื่อนที่เดิมไว้ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 กรณี ดังนี้ 1. แรงลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์กระทำกับวัตถุหยุดนิ่ง วัตถุจะรักษาสภาพหยุดนิ่งไว้ หรือไม่เปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ 2. แรงลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์กระทำกับวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วค่าหนึ่ง วัตถุจะรักษาสภาพการเคลื่อนที่เดิมเอาไว้และจะเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดิมด้วยความเร็วคงตัวนั้นตลอดไป ทั้ง 2 กรณีเป็นกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 ของนิวตัน เรียกว่า “กฎแห่งความเฉื่อย” ซึ่งกล่าวไว้ว่า “ถ้าไม่มีแรงภายนอกมากระทำต่อวัตถุ หรือแรงลัพธ์ที่มากระทำมีค่าเป็นศูนย์ วัตถุจะไม่เปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่”

สรุปทบทวนประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ ที่สามารถบอกขนาดและทิศทางที่แน่นอนได้ แรงลัพธ์เป็นผลรวมของแรงทั้งหมดที่กระทำกับวัตถุ การคำนวณหาแรงลัพธ์ ถ้าแรงย่อยที่กระทำต่อวัตถุมีทิศทางเดียวกัน แรงลัพธ์จะมีขนาดเท่ากับผลบวกของแรงย่อย ถ้าแรงย่อยที่กระทำต่อวัตถุมีทิศทางตรงข้ามกัน แรงลัพธ์จะมีขนาดเท่ากับผลต่างของแรงย่อย โดยวัตถุจะเคลื่อนที่ไปตามทิศทางของแรงที่มีขนาดมากกว่าเสมอ ถ้าแรงย่อยที่มีขนาดเท่ากันกระทำต่อวัตถุในทิศทางตรงกันข้าม แรงลัพธ์จะมีค่าเป็นศูนย์ ถ้าแรงลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์กระทำต่อวัตถุหยุดนิ่ง วัตถุจะรักษาสภาพหยุดนิ่งเอาไว้ ถ้าแรงลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์กระทำต่อวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ วัตถุจะเคลื่อนที่โดยรักษาสภาพการเคลื่อนที่เดิมไว้ และเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว