การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีภาค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

Strength of Materials I EGCE201 กำลังวัสดุ 1
ชนิดของหินโดยประมาณ พบเป็น โดยรวมหินแปรไว้ในหินต้นกำเนิดเหล่านี้แล้ว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพของโลก
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
กฎหมายทะเล.
Conic Section.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
หินแปร (Metamorphic rocks)
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
(Structure of the Earth)
โดย อาจารย์ อนุกูล บูรณประทีปรัตน์
and Sea floor spreading
การไหลเวียนของบรรยากาศและน้ำในมหาสมุทร
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
แผ่นดินไหว.
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
Basic wave theory.
น้ำและมหาสมุทร.
ว ความหนืด (Viscosity)
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. พีรวัส เกิดสมนึก เลขที่11 นำเสนอ
จัดทำโดย ด.ช.ชนสรณ์ ศรีงาม เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
นายเลิศสิน รักษาสกุลวงศ์ ผู้อำนวยการสำนักธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
พลังงานลม.
BY NONGLAK WANSOM Saparachinee School Trang Thailand
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
ลักษณะทางกายภาพของ ทวีปยุโรป.
ลักษณะทางกายภาพ ของทวีปแอฟริกา Afica.
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป
ลักษณะทางภูมิประเทศและภูมิอากาศของทวีปยุโรป
โลกของเรา (โครงสร้างและส่วนประกอบ)
แผนภูมิสมดุล ความบกพร่องในผลึก การเปลี่ยนของรูปโลหะ การคืนตัว
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
El Nino ดั้งเดิมเป็นคำที่ชาวประมงเปรูใช้ เรียกปีที่มีการจับปลาในทะเลได้เป็นจำนวน มากกว่าปีอื่น ๆ แต่พื้นที่บกบริเวณด้าน ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิคเกิดภาวะแห้ง.
ดินถล่ม.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
โลก (Earth).
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
การหักเหของแสง (Refraction)
โลกและการเปลี่ยนแปลง
ดาวพุธ (Mercury).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
Earth’s internal processes กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลก
โครงสร้างภายในของโลก แบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ
ผู้หาข่าว  นายสีชาด หนุน พระเดช ข่าวความเป็นมา  ศูนย์กลางแผ่นดินไหวห่างจากกรุง ปอร์โตแปรงซ์ เมืองหลวงของประเทศไปราว 25 กิโลเมตร ( หรือ 16 ไมล์ ) โดยแผ่นดินไหว.
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
หินแกรนิต หินแปรเนื้อหยาบ มีริ้วขนาน หยักคดโค้งไม่สม่ำเสมอ สีเข้มและจางสลับกัน แปรสภาพมาจากหินแกรนิต โดยการแปรสภาพบริเวณไพศาล ที่มีอุณหภูมิสูงจนแร่หลอมละลาย.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค
การเปลี่ยนแปลงธรณีภาค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีภาค Plate Tectonics การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีภาค ครูกุลวรรณ สวนแก้ว รร.เชียงยืนพิทยาคม

1. Why do the plate move ? The plates move due to convection currents in the mantle Heat transferred by movement of a fluid (magma) Called “Convection Cells”

กระบวนการที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี กลไกที่ทำให้แผ่นเปลือกโลกเกิดการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา คือ การพาความร้อน (Convection) ในชั้นเนื้อโลก (mantle) ส่วนล่างของเทือกสันเขาใต้สมุทร จะมีแมกมาไหลเวียนขึ้นมา แทรกดันขึ้นมาบนผิวโลกทำให้แผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ห่างออกจากรอยแยก เมื่อแมกมา มีอุณหภูมิลดลง จะมีความหนาแน่นมากขึ้นและจะมุดตัวลงสู่ชั้นเนื้อโลกบริเวณร่องลึกใต้สมุทร

รูปแบบการเคลื่อนที่ของสารในชั้นเนื้อโลกจากการพาความร้อน เรียกว่า วงจรการพาความร้อน (Convection Cells) แทรกรูป

plate tectonic ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค

How many plates in the Earth ?

Plate , Lithosphere นักธรณีวิทยาแบ่งแผ่นธรณีภาคของโลกออกเป็น 2 ประเภท คือ แผ่นธรณีทวีป และแผ่นธรณีมหาสมุทร รวมทั้งหมด 13 แผ่น ได้แก่ 1. แผ่นยูเรเชีย 2. แผ่นแอฟริกา 3. แผ่นอเมริกาเหนือ 4. แผ่นอเมริกาใต้ 5. แผ่นแปซิฟิก 6. แผ่นอินโด-ออสเตรเลีย 7. แผ่นแอนตาร์กติก 8. แผ่นนาสคา 9. แผ่นแคริเบียน 10. แผ่นคอคอส 11. แผ่นฟิลิปปินส์ 12. แผ่นอะราเบียน 13. แผ่นสโคเทีย

What are these types of plate boundaries? What are the key characteristics for each? Give an example of where each can be found.

Types of Plate Boundaries 1. Divergent plate boundaries : แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกออกจากกัน 2. Convergent plate boundaries : แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน 2.1 Oceanic vs. oceanic แผ่นธรณีมหาสมุทร ชนกับ แผ่นธรณีมหาสมุทร 2.2 Continent vs. oceanic แผ่นธรณีมหาสมุทร ชนกับ แผ่นธรณีทวีป 2.3 Continent vs. continent แผ่นธรณีทวีป ชนกับ แผ่นธรณีทวีป 3. Transform plate boundaries : แผ่นธรณีที่เคลื่อนที่ผ่านกันหรือเคลื่อนที่เฉือนกัน

Types of Plate Boundaries: Divergent Convergent Transform

1. Divergent plate boundaries : แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกออกจากกัน Mid-ocean Ridge Rift valley :หุบเขาทรุด sea floor spreading: การขยายตัวของพื้นทะเล Fissure volcanoes

Divergent plate boundaries are caused when two plates move away from each other (diverge). When they move apart from each other a ‘gap’ is created. The gap is filled with hot, molten lava that solidifies when it reaches the surface (meeting either the sea or air). Land is therefore formed. Earthquakes and volcanoes are associated with constructive plate margins.

2. Convergent plate boundaries : แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน 2.1 Oceanic vs. oceanic Trench : ร่องลึกใต้สมุทร Island arc : หมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้ง Great earthquake:แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ Active volcano :ภูเขาไฟที่มีพลัง

2. Convergent plate boundaries : แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน ต่อ 2.2 Continent vs. oceanic Volcanic Mountain range : แนวภูเขาไฟชายฝั่ง Trench : ร่องลึกใต้สมุทร Deep earthquakes

2. Convergent plate boundaries : แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน ต่อ 2.3 Continent vs. continent Mountain range : เทือกเขา เทือกเขาหิมาลัยเทือกเขาแอลป์

3. Transform plate boundaries : แผ่นธรณีที่เคลื่อนที่ผ่านกันหรือเคลื่อนที่เฉือนกัน transform fault : รอยเลื่อนเฉือนระนาบด้านข้างขนาดใหญ่ shallow earthquakes:แผ่นดินไหวรุนแรงในระดับตื้นๆ

จากรูป เป็นการเคลื่อนที่เข้าหากัน แบบใด ??? จากรูป เป็นการเคลื่อนที่เข้าหากัน แบบใด ???

จากรูป เป็นการเคลื่อนที่เข้าหากัน แบบใด ??? จากรูป เป็นการเคลื่อนที่เข้าหากัน แบบใด ???

จากรูป เป็นการเคลื่อนที่เข้าหากัน แบบใด ??? จากรูป เป็นการเคลื่อนที่เข้าหากัน แบบใด ???

Name this plate boundary G A B E F D C Match the labels to the letters The oceanic crust sinks under the less dense continental crust Earthquakes occur due to friction Oceanic plate The oceanic crust melts and rises Mantle Continental crust Explosive volcanoes

G A B E F D C

Name this plate boundary G Explosive volcanoes Earthquakes occur due to friction Continental crust A B E Oceanic plate The oceanic crust melts and rises F D C The oceanic crust sinks under the less dense continental crust Mantle Match the labels to the letters

Deformation of plate : การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก 1. fold (ชั้นหินคดโค้ง) 2. fault (รอยเลื่อน )

1. Fold (ชั้นหินคดโค้ง ) เกิดจากความเค้น(stress) และความเครียด (strain) ของเปลือกโลก เมื่อมีแรงบีบอัดทำให้เกิดการโค้งงอของชั้นหิน และไม่สามารถคืนตัวกลับสู่สภาพเดิมได้ แบ่งเป็นสองประเภท คือ 1. Anticline (ชั้นหินคดโค้งรูปประทุน) เป็นการโค้ง ที่มีส่วนโค้งตั้งขึ้นเหมือนหลังคาเรือ 2. Syncline (ชั้นหินคดโค้งรูปประทุนหงาย) เป็นการโค้งที่มีส่วนโค้งคว่ำลง

การโค้งงอของชั้นหินจะมีการสมมติเส้นระนาบที่แบ่งผ่านส่วนโค้งที่สุดของชั้นหิน เรียกว่า ระนาบแกนชั้นหินคดโค้ง (axial plane) ซึ่งจะมีทิศตั้งฉากกับแรงที่กระทำต่อหิน

รอยเลื่อน แบ่งเป็น 3 ประเภท 2. Fault (รอยเลื่อน) คือ ระนาบรอยแตกตัดผ่านหิน ซึ่งมีการเคลื่อนที่ผ่านกัน และหินเกิดการเคลื่อนที่ตามรอยแตกนั้น โดยหินที่วางตัวอยู่บนระนาบรอยเลื่อน เรียกว่า หินเพดาน (hanging wall) ส่วนหินที่อยู่ด้านล่างของระนาบรอยเลื่อน เรียกว่า หินพื้น (foot wall) รอยเลื่อน แบ่งเป็น 3 ประเภท

1. รอยเลื่อนปกติ (normal fault) เป็นรอยเลื่อนที่มีการเคลื่อนที่ตามมุมเทของระนาบรอยเลื่อน โดยหินเพดานมีการเคลื่อนที่ลง หินพื้นจะเคลื่อนที่ขึ้น โดยทั่วไป จะมีมุมเทมากกว่า 45 องศา

2. รอยเลื่อนย้อน (reverse fault) เป็นรอยเลื่อนที่มีการเคลื่อนที่ตามมุม เทของระนาบรอยเลื่อน แต่ทิศทางจะกลับกันกับ รอยเลื่อนปกติ โดยหินเพดานมีการเคลื่อนที่ขึ้น หินพื้นจะเคลื่อนที่ลง โดยทั่วไป จะมีมุมเทมากกว่า 45 องศา แต่ถ้าน้อยกว่า 45 องศา จะเรียกว่า รอยเลื่อนย้อนมุมต่ำ (trust fault)

3. รอยเลื่อนตามแนวระดับ (strike-slip fault) เป็นรอยเลื่อนที่มีมุมเท 90 องศา และ หินจะเคลื่อนที่ในทิศเดียวกันกับแนวระดับของ ระนาบรอยเลื่อน