พิริยาภรณ์ สังขปรีชา อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
เสนองานสัมมนา “ฟาร์มหมู รีเทิร์น ขาดทุน 2 ปี ฟื้นอย่างไร? ใน 6 เดือน”
กินอย่างถูกหลัก ลดน้ำหนักอย่างถูกวิธี
การใช้ถั่วมะแฮะในอาหารสุกรระยะเจริญเติบโต
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การเลือกคุณภาพสินค้า
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ผลพลอยได้จากเมล็ดพืชน้ำมัน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
เรื่อง โครงงานสุขภาพ กลุ่ม C.A.L.I.N สมาชิก:
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
การวิเคราะห์อาหารสัตว์
ผลการจำกัดอาหารในลูกสุกรหย่านมก่อนกำหนด
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
ผลของการเสริมวิตามิน บี 12 ต่อองค์ประกอบของไข่
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
อาหารหลัก 5 หมู่.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
นางสาวสุธาสินี ภัยชนะ
การใช้มันสำปะหลังเป็นแหล่งพลังงานในสูตรอาหารสุกร
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
จุดมุ่งหมายเพื่อ ทดสอบความสามารถใน การอ่านจับใจความ คิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์ ความเชื่อมโยงสัมพันธ์ของ ประเด็น และสาระสำคัญ ต่างๆ.
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
สระแก้ว.
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
************************************************
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบอัตราส่วนน้ำยาฟอกฆ่าเชื้อจากสารเคมีและสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเมล็ดหม้อข้าวหม้อแกงลิง.
อิทธิพลของระดับโปรตีน คาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่เยื่อใย และสัดส่วน MP/NELในอาหารสูตรรวมที่มีการใช้เปลือก-ซังข้าวโพดหมัก เป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก ต่อการให้ผลผลิตในโคนม.
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
การประมาณกราฟการให้นมเนื่องจากอิทธิพลทางพันธุกรรม
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง นายวรายุทธ เนติกานต์ อ.ดร.นพพล เล็กสวัสดิ์
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
การเปรียบเทียบสินค้าส่งออก ของไทยกับกลุ่มประเทศอาเซียน
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
RDF/ MSW Industry for Thailand
สถานภาพการวิจัยของประเทศไทย จากข้อมูลค่าใช้จ่ายและบุคลากร ทางการวิจัยและพัฒนา ของประเทศไทยประจำปี 2548 ด้านเกษตร ด้าน เกษตรศาสต ร์ โดย รศ. ดร. ศรัณย์ วรรธนัจฉริยา.
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ อ. สุภเวท มานิยม.
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พิริยาภรณ์ สังขปรีชา อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา ผลของการใช้ผลพลอยได้จากการผลิตพลังงานชีวภาพจากข้าวสาลีต่อสมรรถนะทางการเจริญเติบโตของสุกรรุ่น พิริยาภรณ์ สังขปรีชา อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา

พลังงานชีวภาพ Biofuel คือ เชื้อเพลิงที่ได้จากชีวมวล (Bimass) หรือ สสารที่ได้จากพืชและสัตว์โดยมีพื้นฐานจากการสังเคราะห์แสง แล้วเก็บรวบรวมพลังงานจากดวงอาทิตย์เอาไว้ในรูปของพลังงานเคมี 

แหล่งวัตถุดิบการผลิตเอทานอล วัตถุดิบที่ใช้ผลิตเอทานอลได้จากพืช 2 ประเภท คือ พืชที่ให้น้ำตาล ได้แก่ อ้อย และข้าวฟ่างหวาน พืชที่ให้แป้ง เช่น พืชหัว (tuber crop) ได้แก่ มันสำปะหลัง มันเทศ มันฝรั่ง และเมล็ดธัญพืช (cereal grain) เช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโพด

กระบวนการผลิตเอทานอลจากข้าวสาลี ที่มา : Feed Opportunities from the Biofuels Industries (FOBI) , (2011)

การเปลี่ยนน้ำตาลกลูโคสเป็นเอทานอลโดยการหมักของยีสต์ C6H12O6 + ยีสต์------> 2C2H5OH + 2CO2 + 28.7 Kcal (กลูโคส) (เอทานอล) (คาร์บอนไดออกไซด์) 180 กรัม 2x46 กรัม 2x44 กรัม คิดเป็นร้อยละ 100 กรัม 51.11 กรัม 48.89 กรัม

DDGS Dried distillers’ grains with solubles เป็นผลพลอยได้จากกระบวนการผลิต Bio-Ethanol มีคุณค่าทางโภชนะเพียงพอที่จะเป็นอาหารสัตว์ได้ ผลพลอยได้ที่ออกมามีสัดส่วนของ โปรตีน ไขมัน และเยื่อใย เพิ่มมากขึ้น

DDGS Nutrient composition ITEM% DDGS Nutrient composition Wheat1 Corn2 Sorghum3 DM 95 91.5 92 CP 38.6 28.8 45 EE 4.5 9.8 7 NDF _ 33.5 31 Crude fiber 7.2 Calcium 0.11 0.04 Phosphorus 0.9 0.8 0.48 ที่มา : 1 = May et al. (2010), 2 = Mohawk (2002) , 3 = Depenbusch et al. (2009)

ประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของสุกรรุ่น ที่ได้รับ Wheat DDGS ระดับที่แตกต่างกัน Variable Wheat DDGS (g/kg) 5% 10% 15% 20% ADFI (g/d) Day 0–7 Day 8–14 Day 15– 21 Day 22– 28 226 444 638 847 227 421 622 861 232 433 620 840 205 402 598 839 191 318 360 496 ADG (g/d) 202 294 438 568 204 292 587 206 299 425 171 280 423 574 105 169 196 293 ที่มา : Avelar et.al (2010)

กราฟ ผลของการใช้ Wheat DDGS ต่อสมรรถนะทางการเจริญเติบโตของสุกรรุ่น ที่มา : P. Cozannet, Y. Primot, C. Gady, J. P. Métayer, M. Lessire, F. Skiba and J. Noblet (2010)

สรุปและข้อเสนอแนะ อัตราการเจริญเติบโตต่อวัน ADG  พบว่าใช้ Wheat DDGS ที่ระดับ 0% 10% สุกรรุ่นมีเจริญเติบโตดีกว่า Wheat DDGS ที่ระดับ 15% และ 20% อัตราการกินต่อวัน ADFI  พบว่าไม่มีผลกระทบต่อปริมาณการกินของสุกรรุ่น ประสิทธิภาพการใช้อาหาร พบว่า Wheat DDGS ที่ระดับ 0% 5% 10% ดีกว่า Wheat DDGS ระดับ 20% ผลพลอยได้จาก DDGS มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นตามการผลิตเอทานอล วัตถุดิบตั้งต้นเดิมที่ใช้เป็นอาหารสัตว์จะมีราคาแพงและนั่นทำให้แนวโน้มการใช้ DDGS ในอนาคตเพิ่มขึ้น ความเป็นไปได้ในการใช้ DDGS เป็นอาหารสุกรเป็นไปในทางที่ดี ทั้งเรื่องของสมรรถนะการผลิตและคุณภาพเนื้อ DMI, ADG

กิตติกรรมประกาศ ผศ.พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา อาจารย์ที่ปรึกษา รศ.ดร.ฉลอง วชิราภากร อาจารย์ประจำวิชา อ.ดร.อนุสรณ์ เชิดทอง อาจารย์ประจำวิชา พี่ และเพื่อน ทุกท่าน

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ