รำวงมาตรฐาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุดเสื้อสูทน้ำเงิน ไม่มีปก
Advertisements

Cosplay restaurant Collection lesson 1 : Meaning
ชุดแต่งกายประจำชาติ ในอาเซียน
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549
การเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เรื่อง น่าคิด.
นางศุจินันท์ ฉลาด โรงเรียนโชคชัยสามัคคี นครราชสีมา
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 นาฏศิลป์ในท้องถิ่น
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
เทศกาลลอยกระทง ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี หรืออยู่ในราวเดือนพฤศจิกายนค่ะ ถือว่าเป็นประเพณีเก่าแก่ของไทยที่มีตั้งแต่ครั้งสมัยสุโขทัยเชียวนะคะ.
ด.ญ. มินตรา บุตระ เลขที่ 31 ม. 2/5 ด.ญ. ชลธิชา สุ่มลาย เลขที่ 36 ม.2/5
วัฒนธรรมและภูมิปัญญา มยุรฉัตร ผิวอ่อนดี ร.ร. ดงเจนวิทยาคม จ.พะเยา
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
วิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี
โครงการทำบุญเข้าวัดด้วยการแต่งชุดผ้าไทย
จัดทำโดย นางสาวอัคคณัฏฐา อำไพ
เทศกาลตรุษจีน.
หน้าหลัก สมาชิก ประวัติความเป็นมา วัตถุประสงค์ กิจกรรมเด่น
รายงาน เรื่อง การเเต่งกายสมัยอยุธยา 6.ธีรพล เศรษฐี เลขที่4
ชุดประจำชาติของแต่ละประเทศในภูมิภาคอาเซียน
วัฒนธรรมของประเทศอินโดนีเซีย
วัฒนธรรมในอาเซียน (ประเทศกัมพูชา)
องค์ประกอบ Graphic.
ภาพประกอบการสอน บุคลิกภาพ การพูด การนำเสนอในที่ชุมชน
การพัฒนาบุคลิกภาพ ทองสุข มันตาทร.
เพลงพื้นบ้านในภูมิภาคตะวันตก
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
โดย ครูภาวัติ บุญกาญจน์
" ประวัตินาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะการละครฟ้อนรำและดนตรีอันมีคุณสมบัติตามคัมภีร์นาฏะหรือนาฏยะ กำหนดว่า ต้องประกอบไปด้วยศิลปะ 3 ประการ คือ การฟ้อนรำ การดนตรี
การเตรียมตัวศึกษาดูงานประเทศไต้หวัน
รำวงมาตรฐาน เพลงงามแสงเดือน งามแสงเดือนมาเยือนส่องหล้า
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การรำ โนรา ชาตรี โรงเรียนอนุบาลวังม่วงอ.วังม่วง จ.สระบุรี
การพัฒนาบุคลิกภาพด้วยเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย
ความหมาย ขอบเขต กำเนิดนาฏกรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์
ผู้อ่านต้องเก็บใจความสำคัญของข้อความอย่างรวดเร็ว ขณะอ่านต้องรู้ว่าข้อความสำคัญอยู่ที่ใดในแต่ละย่อหน้านั้น.
การละเล่นของไทย จัดทำโดย ด.ญ.พรหมพร แสงผึ้ง ด.ญ.พัชราภา มหาวิจิตร เสนอ
กีฬาพื้นบ้านไทย จัดทำโดย เด็กชายภูมศักย์ ภูโปร่ง ม.1/2 เลขที่10
อาเซียนการแต่งกาย การแต่งของประเทศอาเซียน จัดทำโดย
รองเท้าอัจฉริยะสำหรับเวลาทีวี
ชุดไทยประจำชาติ วัฒนธรรมการแต่งกายประจำชาติ
วันลอยกระทง โดย ด.ญธัญผกา อุตสานนท์ ด.ญ.ธารารัตน์ ทั่งดี
การป้องกันตนเองของผู้ปฏิบัติงานพ่นเคมี
การแต่งกายด้วยผ้าไทย ของกรมทรัพยากรน้ำ (สบก.)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
วันลอยกระทง.
การแต่งกายของประเทศสมาชิกอาเซียน
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
การแต่งกายเสริมสร้างบุคลิกภาพ
เครื่องแต่งกายนักศึกษา ปวส. ช่างอุตสาหกรรม
ฝ่ายพัฒนาคุณภาพนักศึกษา
เกมส์ทางคณิตศาสตร์.
การแต่งกาย.
การแต่งกาย นักเรียน/นักศึกษา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องประเภทของเครื่องดนตรีไทย
๖.๖.  กิโมโนประกอบด้วยเสื้อนะงะงิ ( 長着 ) ซึ่งมีลักษณะเป็นคลุมขนาดยาวที่มี แขนเสื้อที่มีความกว้างมาก และสายโอ บิ ( 帯 ) ซึ่งใช้รัดเสื้อคลุมนี้ให้อยู่คงที่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
วิชา เสื้อผ้าบุรุษเบื้องต้น ( )
แนวทางในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง
ผู้บริหารพบ นักเรียน. การปฏิบัติตัวสำหรับ นักเรียน เพื่อเตรียมการ ประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา ประจำปี การศึกษา ๒๕๕๖.
การแสดง. 1. โขนเป็นการแสดงแบบใด เนื้อหา ศิลปะการแสดงอันเป็นเอกลักษณ์ของชาวไทยที่มี ประวัติความเป็นมายาวนาน เป็นศิลปะการเต้นเป็น เรื่อง ผู้แสดงตามสวมหัวโขน.
องค์ประกอบของบทละคร.
โดย รองศาสตราจารย์จารุพรรณ ทรัพย์ปรุง คลิกเม้าส์เพื่อเปิดหน้า 2
วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย
การสร้างภาพบนเวทีและ การออกแบบเพื่อการแสดง
เด็กหญิง สิรารมย์ มาศจร ชั้น ม.2/3 เลขที่37 ชิ้นงานที่8
กิจกรรมการสอนโดยใช้ “เพลง”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รำวงมาตรฐาน

ที่มาของรำวงมาตรฐาน รำวง (Ramwong) เป็นการละเล่นของ ชาวบ้านที่ร่วมเล่นกันเพื่อความสนุกสนานและ ความสามัคคี แต่เดิมเรียกว่า “รำโทน” เนื่อง จากใช้โทนตีประกอบจังหวะในการรำ ต่อมา เพิ่มกรับและ ฉิ่ง แต่ยังไม่มีการขับร้อง ประกอบในการรำ คงรำไปตามจังหวะโทน อย่างเดียว ลักษณะการรำโทนรำเป็นคู่ ๆ เดินเป็นวงกลม ใช้ท่ารำง่าย ๆ สุดแท้แต่ ใครจะรำหรือทำท่าใด ไม่มีกำหนดกฎเกณฑ์ ขอเพียงแต่ย่ำเท้าให้ลงตามจังหวะโทน

ต่อมาการเล่น “รำโทน” ได้พัฒนามาเป็น “รำวง” ลักษณะ การรำวง คือ มีโต๊ะตั้งกลางวง ชาย – หญิงรำเป็น คู่ ๆ เดินเป็นวงกลมอย่างมีระเบียบ แต่ยังคงยึด จังหวะโทนเป็นหลัก มีการ ขับร้องเพลงประกอบใน การรำ เรียกว่า “รำวงพื้นบ้าน” การ รำวงนี้นิยมเล่น ในงานเทศกาล หรือเล่นกันเองด้วยความสนุกสนาน เนื้อหาสาระของเพลงรำวงพื้นเมือง นอกจากให้ความ บันเทิงแล้วยังสอดแทรกอารมณ์ ความรู้ ขนบธรรมเนียมประเพณี เช่น เพลงช่อมาลี เธอรำ ช่างน่าดู หล่อจริงนะดารา ตามองตา ยวนยาเหล ใกล้เข้าไปอีกนิด ฯลฯ

    ต่อมาในสมัยรัฐบาล จอมพล ป. พิบูล สงคราม พ.ศ. 2487 ได้มอบหมายให้กรม ศิลปากร ปรับปรุงการเล่นรำวงพื้นบ้าน ให้มี ระเบียบเรียบร้อย เป็นแบบฉบับอันดีงามของ นาฏศิลป์ไทยและเพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะ การละเล่น พื้นเมือง กรมศิลปากรจึงแต่งบท ร้องและทำนองเพลงขึ้นใหม่ 4 เพลง คือ 1.งามแสงเดือน 2.ชาวไทย 3.คืนเดือน หงาย 4.รำมาซิมารำ พร้อมทั้งปรับปรุง เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการเล่นรำวง มาเป็นวงปี่ พาทย์หรือวงดนตรีสากล

บทเพลงรำวงมาตรฐานนี้ ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม ได้แต่งบทร้องอีก 6 เพลง คือ ดวงจันทร์วันเพ็ญ ดอกไม้ของ ชาติ หญิงไทยใจงาม ดวง จันทร์ขวัญฟ้า ยอดชายใจหาญ และ บูชานักรบ

       ผู้คิดประดิษฐ์ท่ารำประกอบเพลงรำวงทั้ง 10 เพลง นั้น คือ คณะอาจารย์ด้านนาฏศิลป์ของกรมศิลปากร ได้ ช่วยกันคิดประดิษฐ์ท่ารำให้งดงามถูกต้องตาม หลักนาฏศิลป์ กำหนดให้เป็นแบบมาตรฐาน ผู้ คิดประดิษฐ์ท่ารำของรำวงมาตรฐาน คือ หม่อมต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก) ครูมัล ลี คงประภัทร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และครูผัน โมรากุล ต่อมาได้มีการนำรำวงนี้ไปสลับกับวง ลีลาศ ทำให้ชาวต่างประเทศรู้จักรำวง เพื่อให้ ประชาชนชาวไทยได้เล่นกันแพร่หลาย และมี แบบแผนอันเดียวกัน กรมศิลปากรจึงเรียกว่า “รำวงมาตรฐาน”

วิธีเล่นรำวงมาตรฐาน 1. แสดงเป็นคู่ ชาย – หญิง จะใช้กี่คู่ก็ได้ขึ้นอยู่กับ สถานที่ 2. ก่อนเริ่มรำ หญิง – ชาย ทำความเคารพกันด้วย การไหว้ หรือ หญิงพนมมือไหว้ ชายโค้ง 3. ก่อนรำแต่ละเพลง ดนตรีนำ 1 วรรค เพื่อให้การ เดินเท้าในจังหวะแรกพร้อมเพรียงกัน 4. มีความพร้อมเพรียงในการรำ ระยะคู่ไม่ห่างหรือชิด กันเกินไป 5. ใช้ท่ารำตามที่กำหนดไว้ในแต่ละเพลง 6. พนมมือไหว้ซึ่งกันและกัน ก่อนที่จะออกจากวงรำ

การแต่งกายรำวงมาตรฐาน มี 3 แบบ 1. แบบพื้นเมือง ชาย นุ่งผ้าโจงกระเบน สวมเสื้อคอกลม มีผ้าคาดเอว หญิง นุ่งผ้าโจงกระเบน ห่มสไบอัดจีบ คาดเข็มขัด

2. แบบไทยพระราชนิยม ชาย สวมกางเกงขายาว ใส่เสื้อ พระราชทาน (แขนยาวหรือสั้นก็ได้) สวม รองเท้า (แบบที่ 1) ชาย นุ่งผ้าโจงกระเบน ใส่เสื้อราชประ แตน สวมรองเท้า ถุงเท้ายาว (แบบที่ 2) หญิง แต่งชุดไทยเรือนต้น และชุดไทย สมัยรัชกาลที่ 5 สวมรองเท้า

แบบที่1 แบบที่2

3. แบบสากลนิยม ชาย แต่งชุดสูทสากล สวมเสื้อเชิ้ตแขนยาว ชาย แต่งชุดสูทสากล สวมเสื้อเชิ้ตแขนยาว ผูกเนคไท สวมรองเท้า หญิง ชุดไทย

เพลงรำวงมาตรฐานและท่ารำ 1. เพลงงามแสงเดือน ชายและหญิง ท่าสอดสร้อยมาลา

2. เพลงชาวไทย ชายหญิง ท่าชักแป้งผลัดหน้า

3. รำมาซิมารำ ชายและหญิง ท่ารำส่าย

ชายและหญิง ท่า สอดสร้อยมาลาแปลง 4. เพลงคืนเดือนหงาย ชายและหญิง ท่า สอดสร้อยมาลาแปลง

5. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ ชายและหญิง แขกเต้าเข้ารังและ ผาลาเพียงไหล่

6. เพลงดอกไม้ของชาติ ชายและหญิง ท่ารำยั่ว

ชายและหญิง พรหมสี่หน้า ยูง ฟ้อนหาง 7. เพลงหญิงไทยใจงาม ชายและหญิง พรหมสี่หน้า ยูง ฟ้อนหาง

8. เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า ชายและหญิง ช้างประสานงา และ จันทร์ทรงกลด

ชาย ท่าจ่อเพลิงกาฬ หญิง ท่าชะนีร่ายไม้ 9. เพลงยอดชายใจหาญ ชาย ท่าจ่อเพลิงกาฬ หญิง ท่าชะนีร่ายไม้

ครึ่งเพลงแรก ครึ่งเพลงหลัง 10. เพลงบูชานักรบ ครึ่งเพลงแรก ครึ่งเพลงหลัง ชาย:จันทร์ทรงกลด หญิง:ขัดจางนาง ชาย:ขอแก้ว หญิง:ล่อแก้ว