๑.นางสาววิมุตตรีศักดิ์สกุลไกร เลขที่ ๘ ๒.นางสาวกชรัตน์นันทเสน เลขที่ ๑๕ ๓.นางสาวสุวภัทรธูปหอม เลขที่ ๑๗ ๔.นางสาวชญานิศวิจารณ์ เลขที่ ๒๐ ๕.นายภูมิภัทรกลิ่นหอม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Advertisements

จดหมายกิจธุระ.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ๓๖ ข้อ
กิจกรรมส่งเสริมเอกลักษณ์ของชาติ ตามโครงการ “ธงไตรรงค์ ธำรงไทย” จังหวัดตราด ตามที่จังหวัดตราด โดย สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดตราด ได้ดำเนินการโครงการ“ธงไตรรงค์
โครงการทำบุญเข้าวัดด้วยการแต่งชุดผ้าไทย
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
วิชาการโปรแกรมสำนักงาน และสารสนเทศ ง๒๑๒๔๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ จำนวน 1 หน่วยกิต ผู้สอน นางสาวพิมพ์พร เพ็ชอินทร.
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การดู.
สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
ฐานข้อมูลปูชนีย์วลัยลักษณ์ ปูชนียาจารย์
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
การใช้คลิปวีดิทัศน์ในการจัดการความรู้ ในงานห้องสมุด : กรณีศึกษา มทรอ.
คำวิเศษณ์.
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
การรายงานและการประเมิน ด้านที่ ๓
การเขียนรายงานสถานการณ์ การเฝ้าระวังและเตือนภัย ทางสังคม
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
๕. ด้านผลลัพธ์/ภาพความสำเร็จ
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ความหมายของการวิจารณ์
ระบบเกษตรแบบผสมผสาน.
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
การเขียน.
การเขียนรายงาน.
ประเภทของวรรณกรรม.
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
องค์ประกอบของวรรณคดี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๔
Evaluation of Thailand Master Plan
บทที่๑ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ วัฒนธรรม. ๑ วัตุประสงค์การเรียนประจำบท บอกความหมายของวัฒนธรรมได้ บอกความสำคัญของของวัฒนธรรมได้ บอกองค์ประกอบของวัฒนธรรมได้
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ความหมายของการวิจารณ์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของ
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๔
แผนการจัดการเรียนรู้
หน่วยที่ ๔ การเขียนรายงาน
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
เรื่อง สมานฉันท์ จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
การพัฒนาตนเอง.
เร่งรัดแก้ไขปัญหายาเสพติด และปราบปรามผู้มีอิทธิพล
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

๑.นางสาววิมุตตรีศักดิ์สกุลไกร เลขที่ ๘ ๒.นางสาวกชรัตน์นันทเสน เลขที่ ๑๕ ๓.นางสาวสุวภัทรธูปหอม เลขที่ ๑๗ ๔.นางสาวชญานิศวิจารณ์ เลขที่ ๒๐ ๕.นายภูมิภัทรกลิ่นหอม เลขที่ ๒๑ ๖.นางสาวพัณณิตาประโมจนีย์ เลขที่ ๒๒ ๗.นางสาวเกณิกายุ้งเกี้ยว เลขที่ ๓๓ ๘.นายมนตรีศรีธรรมยศ เลขที่ ๓๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ / ๔ ผู้จัดทำ

อิทธิพลและผลกระทบของ วรรณกรรม วรรณกรรมเป็นผลงานของมนุษย์ ดังนั้น จึงเป็นที่เก็บรวบรวมความคิด ความเป็นอยู่ และลักษณะสภาพต่างๆของมนุษย์ ที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคมไว้ด้วยกัน วรรณกรรม จึงกลายเป็นหนังสือที่สามารถสะท้อนสภาพ สังคมได้ สังคมของผู้แต่งหนังสือมีธรรมชาติ เช่นไร วรรณกรรมก็มีธรรมชาติเช่นนั้น สังคม นั้นเปลี่ยนแปลงและวิวัฒนาการไปตาม เหตุการณ์อย่างไร วรรณกรรมก็กล่าวถึง เหตุการณ์อย่างนั้น

อิทธิพลและผลกระทบของ วรรณกรรม เช่น เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ทางการเมือง ทางเศรษฐกิจ มีผลทำให้มนุษย์ในแต่ ละสังคมประพฤติ ปฏิบัติตนต่างๆกัน หรือบางครั้งก็ ออกมาในรูปเดียวกัน บางครั้งก็ขัดแย้งกัน บางครั้งก็ กลมกลืนกัน ผู้แต่งหนังสือที่ ช่างสังเกตก็จะเลือกหาเหตุการณ์ เรื่องราว ความเป็นไปใน สังคมมาผูกเป็นเรื่องขึ้น โดยตั้ง จุดประสงค์ไว้ต่างๆกัน

อิทธิพลและผลกระทบของ วรรณกรรม บางคนผูกเรื่องขึ้นเพื่อรายงานเหตุการณ์ เพียงอย่างเดียว บางคน ก็ชี้ให้เห็นลักษณะที่ขัดแย้งต่างๆเพื่อเตือนสติ คนในสังคม ความเป็นจริงในวรรณกรรม โดยทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นของต่างชาติหรือของ ไทยเองก็ตามปรากฏการณ์สำคัญอย่างหนึ่งที่ เราไม่อาจปฏิเสธได้ก็คือ วรรณกรรมเป็นกระจก เงาที่สะท้อนภาพทางสังคมและเป็นดัชนีชี้แนว ของกระบวนการทางวัฒนธรรม ตลอดจนเสนอ ให้เห็นการยึดถือคุณค่าต่างๆของคนในสังคมแต่ ละยุคสมัย ความเป็นไปทางการเมือง ความ เป็นอยู่ทางเศรษฐกิจ ระดับการศึกษา เป็นต้น

อิทธิพลและผลกระทบของ วรรณกรรม สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นสิ่งที่สะท้อน ออกมาให้เราได้จากคนอ่านและคน เขียน และถ้าหากจะมีความจริงที่ นอกเหนือไปจากนี้อีกประการหนึ่งก็ คือ วรรณกรรมเป็นสัญลักษณ์ที่บอก ให้เราเห็นความจริงจังของคนในชาติ หรือความฟุ้งเฟ้อของกลุ่มคนในสังคม ซึ่งทั้งนี้ย่อมแล้วแต่ว่ากลุ่มสังคมใดจะ ใช้กระจกเงาบานไหนออกมาฉาย

อิทธิพลและผลกระทบของ วรรณกรรม ดังนั้นท่าทีและแนวโน้มของวรรณกรรม ต่างๆไม่ว่าจะเป็นของไทยหรือต่างชาติ ไม่ ว่าจะอยู่ในสถานะไหนย่อมมีอิทธิพล เกี่ยวข้องกัน และย่อมขึ้นอยู่ว่าบรรดาผู้มี ส่วนสร้างสรรค์ผลงานทางวรรณกรรม ทั้งหลายจะพยายามเพียงใดที่จะยก วรรณกรรมขึ้นไว้เป็นสื่อของการรับใช้สังคม หรือเหยียบย่ำสังคมให้ต่ำทรามลง นอกจากนี้วรรณกรรมยังเป็นสิ่งที่ผูกพันกับ สังคม และเป็นสมบัติร่วมของทุกยุคทุกสมัย ทุกถิ่น การศึกษาวรรณกรรมจึงต้องควบคู่กับ สังคม ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของวรรณกรรม

อิทธิพลและผลกระทบของ วรรณกรรม ผู้ประพันธ์จึงได้แสดงความคิด ปรัชญา ตลอดจนความจริงในสังคมด้วย ความสนใจและ ความรับผิดชอบ วรรณกรรมจึงมี อิทธิพลต่อสังคม รวมทั้งพลังในสังคมมนุษย์ด้วย

ขอบคุณ ค่ะ / ครับ