แหล่งสารสนเทศ โดย อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข 1. IS204318 แหล่งสารสนเทศ C อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 2 หน่วยที่ 2 2. แหล่งสารสนเทศแยกประเภท ตามแหล่งที่เกิด 2.1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประสบการณ์การเขียนหนังสือ-ตำรา
Advertisements

โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
กิจกรรมที่ 4 ข้อมูล จุดประสงค์
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ.
การค้นข้อมูล 1. ความหมายของสารสนเทศ (Information)
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การจัดการเอกสารที่ได้รับบริจาคเข้า ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์
Online Public Access Catalog
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ บทที่ 2.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
การบริหารงานของห้องสมุด
วิธีการทางประวัติศาสตร์มีความสำคัญอย่างไร
“ จดหมายเหตุ CHILL CHILL ”
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
การจัดการบริการสารสนเทศ หน่วยที่ 6 การส่งเสริมการใช้บริการสารสนเทศและ
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ การเลือกใช้และการประเมินแหล่งสารสนเทศ
การจัดการศูนย์ สารสนเทศ อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
การจัดการบริการสารสนเทศ
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับขอบเขตและประเภทของแหล่งสารสนเทศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ การเลือกใช้และการประเมินแหล่งสารสนเทศ
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
Management Information Systems
งานข้อมูลท้องถิ่น สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
นำเสนอหนังสือวิชาการ
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
วัสดุสารสนเทศ หมายถึง วัสดุหรือสื่อ (Media) ที่ใช้บรรจุสารสนเทศ
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
สารสนเทศ : ความหมาย ความสำคัญ แหล่งสารสนเทศ
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นสื่อการเรียนการสอนที่เกิดจากวิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโทรคมนาคม การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอนจะออกมาในลักษณะของสื่อประสม.
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ
ขั้นตอนการนำ KM ไปใช้ด้านการเรียนการสอน
หลักฐานประวัติศาสตร์สุราษฎร์ธานี
ข้อมูลและสารสนเทศ.
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
การเขียนรายงานการวิจัย
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
L/O/G/O ระบบข้อมูลด้าน แหล่งน้ำ
กลุ่มงานเทคโนโลยี สารสนเทศ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
การประยุกต์ใช้ ระบบสารสนเทศ ในองค์กร. เนื้อหา การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในงานบริการสถาบัน บริการสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในการจัดการเอกสาร การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร.
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 21/04/54 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 รหัสวิชา ง 31101
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
ประเภทของวรรณกรรม.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
1.ความหมายของสื่อการเรียนการสอน/ประเภทของสื่อการเรียนการสอน
Searching Library Catalog “How-to” guide. Library Catalog คือ ฐานข้อมูล บรรณานุกรม ทรัพยากรสารสนเทศ ของห้องสมุด ได้แก่ หนังสือ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย.
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
อ. จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน. การจำแนกประเภท  ทรัพยากรสารสนเทศปฐม ภูมิ  ทรัพยากรสารสนเทศทุติย ภูมิ  ทรัพยากรสารสนเทศตติย ภูมิ
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
การดำเนินงานในห้องสมุดเฉพาะ
ทรัพยากรสารสนเทศ วัสดุ หรือ สื่อ ที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล
โดย อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แหล่งสารสนเทศ โดย อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข 1

IS แหล่งสารสนเทศ C อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 2 หน่วยที่ 2 2. แหล่งสารสนเทศแยกประเภท ตามแหล่งที่เกิด 2.1 แหล่งสารสนเทศคำบอก (Oral Sources) 2.1 แหล่งสารสนเทศที่ได้รับ การบันทึก (Recorded Sources)

IS แหล่งสารสนเทศ C อ. ดร. นฤมล รักษาสุข แหล่งสารสนเทศคำบอก หมายถึง แหล่งที่ให้ สารสนเทศโดย การถ่ายทอดด้วยวาจา (Oral) แหล่งสารสนเทศคำบอกที่ สำคัญได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชา (Subject – matter Expert) และ ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นต้น

IS แหล่งสารสนเทศ C อ. ดร. นฤมล รักษาสุข แหล่งสารสนเทศคำ บอก ( ต่อ ) บันทึกความรู้ที่ใช้บันทึก สารสนเทศที่ผ่านการบอก เล่าเรียกว่า “ หลักฐานคำ บอก ” (Oral Evidence) หลักฐานคำบอกเป็น สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary Sources) ที่อาจ อยู่ในรูปบันทึกคำสัมภาษณ์ วัสดุบันทึกเสียง ภาพถ่าย

IS แหล่งสารสนเทศ C อ. ดร. นฤมล รักษาสุข แหล่งสารสนเทศคำ บอก ( ต่อ ) หลักฐานคำบอกที่ได้รับ การวิเคราะห์ ประมวลและ เรียบเรียงใหม่ทำให้เกิด สารสนเทศคำบอก

IS แหล่งสารสนเทศ C อ. ดร. นฤมล รักษาสุข แหล่งสารสนเทศคำบอก ( ต่อ ) สารสนเทศคำบอกที่ สำคัญ ได้แก่ ประเพณีคำบอก (Oral Tradition) ประวัติศาสตร์คำบอก (Oral History) และ วรรณกรรมมุขปาฐะ (Oral Literature)

IS แหล่งสารสนเทศ C อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 7 แหล่ง สารสนเ ทศ คำบอก แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ ของแหล่งสารสนเทศคำบอก หลักฐานคำบอกและสารสนเทศ คำบอก หลักฐา น คำบอก สารสนเ ทศ คำบอก

IS แหล่งสารสนเทศ C อ. ดร. นฤมล รักษาสุข แหล่งสารสนเทศที่ ได้รับการบันทึก (Recorded Sources) แหล่งสารสนเทศที่เป็น เอกสาร (Documentary Sources) แหล่งสารสนเทศที่ไม่ เป็นเอกสาร (Non - documentary Sources)

IS แหล่งสารสนเทศ C อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 9 แหล่งสารสนเทศที่ได้รับ การบันทึก (Recorded Sources) หมายถึงบันทึกความรู้ หรือ ทรัพยากรสารสนเทศทุก ประเภทที่ปรากฎสารสนเทศ ทั้งที่อยู่ในรูปของตัวอักษร ภาพหรือเสียง แบ่งออกเป็น สองประเภท คือ แหล่ง สารสนเทศที่เป็นเอกสารและ แหล่งสารสนเทศที่ไม่เป็น เอกสาร

IS แหล่งสารสนเทศ C อ. ดร. นฤมล รักษาสุข แหล่งสารสนเทศที่ เป็นเอกสาร หมายถึงบันทึกความรู้ที่ บันทึกลงบนวัสดุที่ทำจาก กระดาษ แหล่งสารสนเทศที่เป็น เอกสารได้แก่ หนังสือ วารสาร จุลสาร กฤตภาค วิทยานิพนธ์ รายงานการ วิจัย ต้นฉบับตัวเขียน ( สมุดไทย )

IS แหล่งสารสนเทศ C อ. ดร. นฤมล รักษาสุข แหล่งสารสนเทศที่ไม่ เป็นเอกสาร หมายถึงบันทึกความรู้ที่ บันทึกลงบนวัสดุ ประเภทต่างๆ ที่มิใช่ กระดาษ แหล่งสารสนเทศที่ไม่เป็น เอกสาร ได้แก่ สื่อโสตทัศน์ สื่อดิจิทัล ( ซีดี ฐานข้อมูล เวปไซต์ ) ต้นฉบับตัวเขียน ( จารึก คัมภีร์ใบลาน )