ต้นทุนการผลิต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
ค่าของทุน The Cost of Capital
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
Lecture 8.
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
การประยุกต์ใช้องค์ประกอบของต้นทุนการผลิตเพื่อการบริหารอย่างมืออาชีพ
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Revision Problems.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
Location Problem.
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
การผลิตและต้นทุนการผลิต
ตลาดและการแข่งขัน.
ได้กล่าวว่า ในระดับบุคคลข่าวสารที่ ได้จากระบบ ช่วยทั้งในแง่ ส่วนตัวและวิชาชีพ ในระดับองค์การ การจะมีส่วนช่วยองค์การให้มี ประสิทธิภาพจะมีผลกระทบต่อกล ยุทธ์และความสำเร็จขององค์การ.
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management)
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
การวิเคราะห์ต้นทุนรายอาชีพ
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การปรับปรุงวิธีการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
การจ่ายค่าตอบแทนให้กับพนักงานขาย
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ตลาด ( MARKET ).
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การวัดการวิจัยในการตลาด
ทฤษฎีการผลิต.
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
บทที่1 การบริหารการผลิต
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ต้นทุนการผลิต

ต้นทุนการผลิต (Cost of production) ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการใช้ปัจจัยการผลิตในการผลิตสินค้า และบริการหรือค่าใช้จ่าย ที่ทำให้อรรถประโยชน์ของสินค้าและ บริการเพิ่มเติม ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost : FC) เป็นต้นทุนที่ต้องจ่าย ไม่ว่าจะผลิตมากหรือน้อย ต้นทุนผันแปร (Variable Cost : VC) เป็นต้นทุนที่แปรตามปริมาณการผลิต

ต้นทุนที่ชัดเจนหรือต้นทุนที่จ่ายออกไปจริง (Explicit cost) หรือต้นทุนทางบัญชี เป็นต้นทุนที่วัดจากตัวเงินที่ได้จ่ายจริง นั่นคือ หากมี รายจ่ายเป็นตัวเงินเกิดขึ้นเมื่อใด ก็ถือว่าเป็นต้นทุน ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) มูลค่าของทางเลือกอื่นที่ดีที่สุด ซึ่งต้องพลาดโอกาสไป เนื่องจากมาเลือก ทางเลือกปัจจุบันรายจ่ายขั้นต่ำที่ผู้ว่าจ้างจำเป็น จะต้องจ่ายแก่ปัจจัยการผลิตเพื่อดึงดูดให้ปัจจัยการผลิตนั้นยังคง ทำงานให้ต่อไป

ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Cost) คือ ต้นทุนค่าเสียโอกาส ซึ่งรวมทั้งต้นทุนชัดแจ้งและไม่ชัด แจ้งที่เป็นต้นทุนค่าเสียโอกาสนั้นไม่ได้มีการจ่ายเป็นตัวเงินออกไป โดยตรง ต้นทุนทางบัญชี (Accounting Cost) เป็นต้นทุนที่วัดจากตัวเงินที่ได้จ่ายจริงและชัดแจ้ง นั่นคือ หากมีรายจ่ายเป็นตัวเงินเกิดขึ้นจริงเมื่อใด ก็ถือเป็นต้นทุนเช่น ค่าแรงงาน ค่าวัตถุดิบรวมถึงค่าบริหารจัดการ

ต้นทุนจม (Sunk Cost) คือ ค่าใช้จ่ายที่ได้จ่ายไปแล้ว โดยไม่สามารถหลีกเลี่ยงและกู้ คืนมาได้ ไม่ว่าจะมีการตัดสินใจประกอบธุรกรรมต่อไปหรือไม่ เนื่องจากไม่มีโอกาสที่จะนำไปใช้ทำอย่างอื่น ต้นทุนเอกชน (Private Cost) คือ ต้นทุนที่ผู้ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจต้องแบกรับ ค่าใช้จ่ายโดยตรง

ต้นทุนทางสังคม (Social Cost) คือ ต้นทุนที่สังคมโดยรวมต้องแบกรับภาระทั้งทางตรงและ ทางอ้อมจากการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจนั้น ต้นทุนทางสังคม = ต้นทุนเอกชน + ผลกระทบภายนอก

ผลกระทบภายนอก (Externalities) คือ ต้นทุนความเสียหาย หรือผลประโยชน์ข้างเคียงที่การ ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจหนึ่งส่งผลกระทบต่อการบริโภค หรือ การผลิตของกิจกรรมทางเศรษฐกิจอื่นๆซึ่งเจ้าของกิจกรรมทาง เศรษฐกิจที่เป็นต้นเหตุของผลกระทบภายนอกนี้ไม่ต้องรับผิดชอบ ต่อความเสียหายที่เกิดขึ้น หรือไม่สามารถเรียกร้องค่าตอบแทนจาก ผลประโยชน์ข้างเคียงที่เกิดขึ้นได้

ต้นทุนการผลิตในระยะสั้น ในระยะสั้น ปัจจัยการผลิตมีทั้งปัจจัยคงที่และปัจจัยผันแปร 1.ต้นทุนรวม (Total Cost) TC เป็นต้นทุนการผลิตทั้งหมดประกอบด้วย 1.1 ต้นทุนคงที่ (Total Fixed Cost :TFC) เป็นต้นทุนที่ไม่เปลี่ยนแปลง ตามปริมาณการผลิต ลักษณะของเส้นเป็นเส้นตรงขนานแกนนอน 1.2ต้นทุนแปรผันรวม (Total variable Cost : TVC)เป็นต้นทุนแปรผัน ตามการผลิต ลักษณะของเส้นเป็นเส้นทอดขึ้นเสมอ และโดยทั่วไปจะมี ลักษณะที่เพิ่มในอัตราที่ลดลงในตอนแรก แต่เมื่อผลิตมากขึ้นต้นทุนแปร ผันจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงขึ้นในที่สุด

2.ต้นทุนเฉลี่ย (Average Cost : AC) คือ ต้นทุนเฉลี่ยต่อ หน่วยการผลิต ต้นทุนรวมมีทั้งต้นทุนคงที่และแปรผัน ดังนั้นต้นทุนเฉลี่ย แบ่งเป็น ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (AFC) และต้นทุนแปรผันเฉลี่ย (AVC)

3. ต้นทุนส่วนเพิ่ม (Marginal Cost) คือ อัตราการ เปลี่ยนแปลงของต้นทุนรวมเมื่อการผลิตเปลี่ยนไปอีกหนึ่งหน่วย

ต้นทุนการผลิตในระยะยาว การผลิตในระยะยาวปัจจัยการผลิตทุกชนิดสามารถ เปลี่ยนแปลงได้ในระยะยาว ดังนั้นปัจจัยทุกตัวจึงกลายเป็นปัจจัย แปรผัน เพราะผู้ผลิตมีเวลาเพียงพอที่จะแสวงหาและเปลี่ยนแปลง ขนาดของปัจจัยต่างๆแม้แต่เครื่องจักร และโรงงานที่สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ในระยะสั้น ดังนั้นการผลิตในระยะจึงเป็นเสมือน แผนการผลิตที่ปรับตัวได้เต็มที่นั่นเอง

ดังนั้นต้นทุนการผลิตที่เกิดขึ้นจึงมีแต่ต้นทุนแปรผัน นอกจากนี้ขนาดของต้นทุนยังขึ้นอยู่กับราคาของปัจจัย และ ส่วนผสมของปัจจัยแปรผันซึ่งผู้ผลิตจะต้องพยายามทำให้มีต้นทุน ต่ำที่สุดเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพด้วย