ดุลการชำระเงิน Balance of payment
ดุลการชำระเงิน GDP ( GROSS DOMESTIC PRODUCT) GDP กับระบบเศรษฐกิจแบบเปิด (OPEN ECONOMY) C I G X M ความหมายดุลการชำระเงิน รายงานทางสถิติ รวมรายการทางเศรษฐกิจ และการเงินอย่างเป็นระบบระหว่างผู้มีถิ่นฐานของประเทศหนึ่งกับผู้มี ถิ่นฐานของประเทศอื่นในระยะเวลาหนึ่ง ผู้มีถิ่นฐาน หมายถึง ผู้ที่พำนักในอาณาเขตของประเทศใดประเทศหนึ่ง เป็นระยะเวลาติดต่อกันเกินหกเดือน หรือผู้ที่มีภูมิลำเนาเป็นการถาวรใน ประเทศนั้น ๆ รอบระยะเวลาหมายถึง รายเดือน รายไตรมาส ปี
ความสำคัญของการจัดทำบัญชีดุลการชำระเงิน มีอิทธิพลต่อตัวแปรทางเศรษฐกิจเช่น การจ้างงาน ราคา สินค้า GDP อัตราเงินเฟ้อ ค่าของเงิน อัตราดอกเบี้ย ทราบความ เคลื่อนไหวของเงินตราสกุลต่างประเทศ ตัวเลขดุลการชำระเงิน วิเคราะห์ผลกระทบต่อตลาด วางนโยบายการเงินและการคลัง
ส่วนประกอบของบัญชีดุลการชำระเงิน บัญชีเดินสะพัด Current A / C บัญชีทุนเคลื่อนย้ายcapital and Financial a / c บัญขีทุนสำรองระหว่างประเทศ International reserve a / c
เงินทุนในหลักทรัพย์( Portfolio Investment) บัญชีเดินสะพัด ดุลการค้า (Trade A/C) ดุลบริการ (Service A/C) ดุลรายได้ ( Income A/C ) ดุลเงิน โอน (Transfer A/C ) บัญชีทุนเคลื่อนย้าย เงินทุนโดยตรง (Direct Investment) เงินทุนในหลักทรัพย์( Portfolio Investment) เงินทุนประเภทอื่น (Other Investment) บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ ทองคำ หลักทรัพย์รัฐบาล เงินตราสกุลหลัก
วิธีการบันทึก วิธีการบันทึก ตามหลักการบัญชีคู่ เดบิต เครดิต ตามหลักการบัญชีคู่ เดบิต เครดิต ผลกระทบของการที่ดุลการชำระเงินไม่สมดุล ฐานะทุนสำรองระหว่างประเทศ ฐานะหนี้สินระหว่างประเทศ ความคล่องตัวของระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ระบบเศรษฐกิจขาดเสถียรภาพ
ผลกระทบของดุลการชำระเงินต่ออัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับระบบการเงินระหว่างประเทศว่าใช้ระบบอัตรา แลกเปลี่ยนแบบไหน แบบคงที่ ลอยตัว ลอยตัวแบบมีการจัดการ คงที่ ต้องมีทุนสำรองจำนวนมาก ลอยตัว เปลี่ยนแปลงตามอุปสงค์ อุปทาน ลอยตัวแบบมีการจัดการ เปลี่ยนแปลงตามอุปสงค์ อุปทานโดย รัฐบาลเข้าแทรกแซงค่าเงินบางครั้ง
สถานการณ์ดุลการชำระเงินของประเทศไทย พ ศ 2540 – 2555 ……………………………………………………………………………………………………………………………..
ดุลการชำระเงิน (BALANEC OF PAYMENT) ดุลการชำระเงินเป็นการบันทึกการรับ – จ่ายเงินตราต่างประเทศที่เกิดจากการค้าหรือการลงทุน หลักการลงบัญชีดุลการชำระเงิน ตามหลักบัญชีคู่ ถ้ารับเงินตราต่างประเทศมาลงทุนในช่องบวก ถ้าต้องจ่ายเงินต่างประเทศลงในช่องลบ มี 3 บัญชีหลักคือ บัญชีเดินสะพัด (Current account) บัญชีทุนและการเงิน (Capital and financial account) บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (International reserve account)
บัญชีเดินสะพัด ประกอบด้วย 4 บัญชีย่อย คือ ดุลการค้า ดุลบริการ ดุลรายได้ และดุลเงินโอนหรือบริจาค บัญชีทุนและการเงิน ประกอบด้วย บัญชีทุน เช่น การยกเลิกหนี้และ บัญชีการเงิน เช่น การลงทุนระหว่างประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อม บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ เป็นบัญชีวัดการเปลี่ยนแปลงสินทรัพย์ ทางการเงินของประเทศหนึ่งและการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ทางการเงิน ของต่างประเทศในประเทศนั้น
การขาดดุลและเกินดุลในดุลการชำระเงิน พิจารณาผลรวมด้านเดบิตและเคดิตในรายการบัญชีเดินสะพัดและ บัญชีทุนการเงิน ถ้ารายรับ > รายจ่ายเงินต่างประเทศแสดงว่าดุลการ ชำระเงินเกินดุล ถ้ารายรับ < รายจ่าย ขาดดุล ฐานะดุลการชำระเงินมีผลกับบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ ถ้าดุลการชำระเงินขาดดุลแสดงว่าทุนสำรองระหว่างประเทศลดลง ถ้าดุลการชำระเงินเกินดุลแสดงว่าทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น
การแก้ไขปัญหาดุลการชำระเงิน การเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนมีผลต่อการปรับดุลการชำระเงิน การปรับดุลการชำระเงินแบ่งเป็นการปรับด้วยตัวเอง หรือ ใช้นโยบาย การปรับด้วยตนเองทำงานได้โดยไม่ต้องมีรัฐบาลเกี่ยวข้องแต่มี ผลข้างเคียงที่ไม่ต้องการเกิดขึ้น การปรับโดยใช้นโยบายรัฐบาลเข้าไป เกี่ยวข้องต้องใช้ระยะเวลา กลไกการปรับด้วยตนเองด้านสินค้าขึ้นอยู่ กับการเปลี่ยนแปลงของระดับราคาภายในประเทศทำงานโดยระบบ อัตราแลกเปลี่ยน