สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

Introduction to C Introduction to C.
Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
คำสั่งแบบเลือกทำ Week 6.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
บทที่ 4 การตัดสินใจในการเขียนโปรแกรม
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
การจำลองความคิด
Surachai Wachirahatthapong
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
แนะนำรายวิชา STC0101 หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
ครูรัตติยา บุญเกิด.
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
การเขียนผังงาน.
โครงสร้างแบบลำดับ คำสั่ง x คำสั่ง y.
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
Flow Chart INT1103 Computer Programming
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
บทที่ 10 คำสั่งควบคุม OUTLINE 1. คำสั่งแบบเรียงลำดับ (Sequence)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
คำสั่งทำซ้ำ for คำสั่ง for เป็นคำสั่งทำซ้ำในลักษณะ Definite loop คือทราบจำนวนรอบที่แน่นอนในการทำงาน ซึ่งจะใช้ตัวแปร 1 ตัวในการนับจำนวนรอบว่าครบตามกำหนดหรือไม่
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Easy way to Estimate Training Project
Chapter 01 Problem-Solving Concept แนวคิดการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหา.
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
Chapter 6 Repetition Structure[2] ผู้สอน อ. ยืนยง กันทะเนตร สาขาวิชาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ ng.
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
บทที่ 6 คำสั่งเงื่อนไข.
Introduction ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
บทที่ 6 พจนานุกรมข้อมูล และ คำอธิบายกระบวนการ
1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
Flowchart การเขียนผังงาน.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ตรรกะพื้นฐานและการแก้ปัญหา Basic logic and Problem Solving 3(2-2-5)
Chapter 05 Selection structure ผู้สอน อ. ยืนยง กันทะเนตร สาขาวิชาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ ng.
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 5 การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

 Structuring a Program  Sequential Logic Structure  The Decision Logic Structure  Decision Logic Structure  NESTED IF/THEN/ELSE INSTRUCTIONS 2

 เพื่อให้นิสิตเข้าใจรูปแบบการใช้งาน flow chart แบบเงื่อนไข If-Then  สามารถสื่อและเขียนสัญญาลักษณ์ ได้ถูกต้อง ในกรณีต่างๆ  สามารถประยุกต์การใช้ทางเลือก If-Then ได้ หลายรูปแบบ 3

 พัฒนาวิธีการแก้ปัญหาของคอมพิวเตอร์อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับในการแก้ไขปัญหา : 1. เขียนโปรแกรมโดยการใช้การแบ่งส่วนโปรแกรมแทน หรือที่เรียกว่า โมดูล (Modules) 2. ใช้ 4 โครงสร้างทางตรรกะ (logic structures) ช่วยในการเขียนโปรแกรม a. Sequential structure เป็นการประมวลผลคำสั่งตามลำดับขั้น ตั้งแต่คำสั่งแรกจนถึงคำสั่ง สุดท้าย b. Decision structure แยกการประมวลผลคำสั่งเป็นกลุ่มๆ ในการตัดสินใจ c. Loop structure การประมวลผลคำสั่งที่เหมือนกันในกลุ่มเดียวกันซ้ำๆ กัน d. Case structure เป็นการประมวลผลกลุ่มคำสั่ง จากหลายๆ กลุ่ม 3. หลีกเลี่ยงการเขียนโปรแกรมที่เหมือนๆ กัน โดยการใช้โมดูลแทน 4. ใช้เทคนิคต่างๆ ช่วยในการปรับปรุงโปรแกรม รวมถึงโครงสร้างของ ตรรกะทั้ง 4 ข้างต้น การตั้งชื่อที่เหมาะสมของตัวแปร มีคำอธิบายหรือ หมายเหตุ (Comment) ในแต่ละบรรทัด ในโปรแกรม และการเยื้องในแต่ละ บรรทัดที่เหมาะสม

 การใช้คำสั่งเงื่อนไข IF/THEN/ELSE  การที่จะบอกให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามโปรแกรมที่มีคำสั่งเงื่อนไข IF เงื่อนไขเป็นจริง, THEN ประมวลผลคำสั่งที่กำหนด ELSE ประมวลผลคำสั่ง อื่นๆ  ในส่วน ELSE คือส่วนเสริม, จะมีหรือไม่มีคำสั่งก็ได้ ใช้ในกรณีที่มีเงื่อนไขเป็น เท็จ  Algorithm: IF THEN instruction(s) เครื่องจะทำงานในคำสั่งนี้เมื่อเงื่อนไขเป็นจริง (T) ELSE instruction(s) เครื่องจะทำงานในคำสั่งนี้เมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ (F)

 A < B (A และ B คือข้อมูลชนิดเดียวกัน – เช่น numeric, character, or string)  X + 5 >= Z (X และ Z คือข้อมูลชนิดตัวเลข )  E 10 (E และ F คือข้อมูลชนิดตัวเลข )  DATAOK (DATAOK – ข้อมูลชนิด logical datum)

 จงคำนวณการจ่ายเงินค่าจ้าง, และค่าล่วงเวลา ( กรณีเกิน 40 ชั่วโมง ) จ่าย 1.5 เท่า  IF ชั่วโมงการทำงานมากกว่า 40, THEN คำนวณค่า ล่วงเวลา, หรือ ELSE คำนวณค่าจ้างปกติ

 Multiple decisions เป็นการตัดสินใจหลาย ทางเลือก  คำสั่งที่ต้องทำตามเป็นชุดคำสั่งในแต่ละระดับ ของการตัดสินใจ

หอพักแห่งหนึ่งมีราคาค่าห้องพักแต่ละแบบดังนี้ - ห้องแบบพัก 2 คน : ฿ ห้องแบบพัก 3 คน : ฿ ห้องแบบพัก 4 คน : ฿ นอกเหนือจากนี้ ให้พิมพ์บอกว่า “ ไม่มี ” - ถ้าผู้พักจองก่อน 15 วัน ลด 20% - ถ้าผู้พักจองก่อนวันเข้าพัก 1-14 วัน ลด 10% - นอกเหนือจากเงื่อนไขข้างต้นไม่ลดราคา - จ่ายค่าห้องล่วงหน้า 2 เดือน - และพิมพ์ผลลัพธ์ราคาค่าห้องออกมา

14

 Maureen Sprankle - Problem Solving and Programming Concepts (9th Edition), Prentice Hall.,