สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
สถานการณ์จังหวัดสระบุรี ปี 2555
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา ธันวาคม 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายสรกฤษณ์ เมือง สนธิ์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายวิชัย เพ็ญดี หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นางสุภาภรณ์ ไชยเวช หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายจีระ.
การประชุม War Room กระทรวงสาธารณสุข ติดตามเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 7/2556 วันที่ 5 เมษายน 2556 เวลา – น. ณ ห้องประชุม.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สถานการณ์ ไข้เลือดออก อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
จำนวนนิติบุคคลในจังหวัดเลย
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
งานโรคติดต่อทั่วไปและโรคอุบัติใหม่ กลุ่มงานควบคุมโรค
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556 ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. – 25 ธ.ค.56 มีผู้ป่วยจำนวน 2,750 ราย เสียชีวิต 7 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 436.00 ต่อประชากรแสนคน อัตราตายเท่ากับ 1.11 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยตาย คิดเป็นร้อยละ 0.25 จำแนกผู้ป่วยไข้เลือดออก ชนิด DF 1,926 ราย(ร้อยละ 70.03) DHF 789 ราย(ร้อยละ 28.69) DSS 35 ราย(ร้อยละ 1.28) ข้อมูลระดับประเทศ ณ วันที่ 24 ธันวาคม 2556 จังหวัดเลยมีอัตราป่วยสูงเป็นลำดับที่ 6 ของประเทศ ลำดับ 1 ของภาค

อัตราป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกประเทศไทย ณ วันที่ 24 ธ. ค อัตราป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกประเทศไทย ณ วันที่ 24 ธ.ค.56 มีผู้ป่วย 150,934 ราย ตาย 133 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 234.86/แสน. อัตราป่วยตาย 0.09 % จังหวัดเลยมีอัตราป่วยสูงลำดับที่ 6 จังหวัด จำนวนป่วย อัตราป่วย/แสน. จำนวนตาย อัตราป่วยตาย % เชียงราย 13,313 1109.84 9 0.07 แม่ฮ่องสอน 1,882 770.67 1 0.05 เชียงใหม่ 11,436 692.72 8 ภูเก็ต 2,246 628.47 2 0.09 กระบี่ 2,036 461.15 0.10 เลย 2,749 438.19 7 0.25 สงขลา 5,630 410.11 11 0.20 ลำปาง 2,931 387.10

แนวโน้มอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดเลย ปี 2541 - 2556 แนวโน้มอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดเลย ปี 2541 - 2556

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดเลยรายเดือน ปี 2555 - 2556 เปรียบเทียบมัธยฐาน 5 ปี

อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556 แยกรายอำเภอ สะสมตั้งแต่ต้นปี – 25 ธันวาคม 2556 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน จำนวน 897 168 331 257 212 181 52 109 135 190 64 37 23 94 ราย

อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556 แยกกลุ่มอายุ อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ปี จำนวน 13 118 425 726 505 299 301 178 104 52 29 ราย

พื้นที่เกิดโรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556 เดือน ธ.ค.56 (1 – 25 ธ.ค.56) มีผู้ป่วย 3 อำเภอรวม 6 ราย ดังนี้ 1. เมือง 4 ราย (ม.8 ต.นาอ้อ ม.10 ต.ศรีสองรัก นาบอน ม.7 ต.ชัยพฤกษ์ และ ม.8 ต.กกดู่) 2. ปากชม 1 ราย (ม.1 ห้วยพิชัย ต.ห้วยพิชัย) 3. เชียงคาน 1 ราย (ม.8 ต.ปากตม) ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. –25 ธ.ค.56 มีพื้นที่เกิดโรคครบทุกตำบล หมู่บ้านเกิดโรคมี 609 มบ.(ร้อยละ 65.06) แยกเป็น หมู่บ้านเกิดโรคใหม่ 2 มบ. (ร้อยละ 0.33) สงบ – เกิดใหม่ 7 มบ. (ร้อยละ 1.15) พื้นที่สงบ 10 อำเภอ 600 มบ. (ร้อยละ 98.52)

พื้นที่เกิดโรคไข้เลือดออกแยกรายอำเภอ จังหวัดเลย ปี 2556 พื้นที่เกิดโรคไข้เลือดออกแยกรายอำเภอ จังหวัดเลย ปี 2556 อำเภอ หมู่บ้าน หมู่บ้านเกิดโรค แยกประเภทการเกิดโรค(วิเคราะห์ ณ ธันวาคม 2556)   ทั้งหมด จำนวน ร้อยละ ใหม่ สงบ-เกิดใหม่ ต่อเนื่อง ซ้ำซาก สงบ เมือง 155 134 86.45 0.00 6 4.48 128 95.52 นาด้วง 41 25 60.98 100.00 เชียงคาน 82 57 69.51 1 1.75 56 98.25 ปากชม 50 39 78.00 2.56 38 97.44 ด่านซ้าย 97 69 71.13 นาแห้ว 34 19 55.88 ภูเรือ 47 17 36.17 ท่าลี่ 28 68.29 วังสะพุง 144 54 37.50 ภูกระดึง 43 79.63 2.33 42 97.67 ภูหลวง 46 11 23.91 ผาขาว 64 67.19 เอราวัณ 80.85 หนองหิน 32 94.12 รวม 936 609 65.06 2 0.33 7 1.15 600 98.52 งานระบาดวิทยา ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม 2556

พื้นที่ที่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเดือนธันวาคม 2556 จังหวัดเลย ปี 2556 พื้นที่ที่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเดือนธันวาคม 2556 จังหวัดเลย ปี 2556 ข้อมูลผู้ป่วยสะสมตั้งแต่ต้นปี วันที่ 1 มกราคม - วันที่ 25 ธันวาคม 2556 อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน จำนวนผู้ป่วย สัปดาห์ที่ป่วย วันเริ่มป่วย ประเภท   สะสมแต่ต้นปี รายแรก รายสุดท้าย พื้นที่เกิดโรค เมือง นาอ้อ หนองมะผาง ม.8 7 4,5,13,22,22,22,35,49 25 ม.ค.56 2 ธ.ค.56 สงบ -เกิดใหม่ ศรีสองรัก โคกสว่าง ม.10 6 14,16,20,23,23,50 4 เม.ย.56 8 ธ.ค.56 ชัยพฤกษ์ นาบอน ม.7 2 20,49 18 พ.ค.56 6 ธ.ค.56 กกดู่ กกดู่ ม.8 4 16,21,26,50 18 เม.ย.56 เชียงคาน ปากตม กลาง ม.8 1 49 4 ธ.ค.56 ใหม่ ปากชม ห้วยพิชัย ห้วยพิชัย ม.1 37,37,39,42,45,51 11 ก.ย.56 20 ธ.ค.56 หมายเหตุ - พื้นที่เกิดโรคใหม่ หมายถึง มี Case ในสัปดาห์ใดสัปดาห์หนึ่งในช่วงที่วิเคราะห์ข้อมูลในรอบ 1 เดือน -พื้นที่โรคสงบ-เกิดใหม่ หมายถึง เคยมี case ในปีนี้ และควบคุมโรคสงบไปแล้วติดต่อกันอย่างน้อย 4 สัปดาห์แล้วมีผู้ป่วยรายใหม่

สาธารณสุขอำเภอ.เมือง ประธาน ให้ลงพื้นที่สำรวจลูกน้ำยุงลายหาจุดอ่อนแล้วจัดการ ช่วง มกราคม –เมษายน ต้องเตรียมทีม ดำเนินการอย่างไร ๒ เตรียมคนเตรียมของ หมู่บ้านเสี่ยงสูง เสี่ยงซ้ำซาก ๓ เตรียมพัฒนาศักยภาพ ๔ ให้ทำปฏิทินจัดทำแผน ๕ เตรียมเพาะพันธ์ปลาหาวนกยูง ๖โรงเรียนจะดำเนินการอย่างไร ก่อนเปิดเทอม เปิดเทอม และปิดเทอม ๗ มีระบบควบคุมโรค๘กำกับแต่ละเดือน ๙ ให้ สาธารณสุขอำเภอ รายงานในที่ประชุมทุกเดือน สาธารณสุขอำเภอ.ผาขาว ผวจ บอกว่าพื้นที่ต้องสะอาด เป็นนโยบายจังหวัด ปี ๕๖ เดือน ธันวาคม ๕๖ มีผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ ๖ ราย

สถานการณ์โรคมือ เท้า ปากจังหวัดเลย ปี 2556 ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. – 25 ธ.ค.56 มีผู้ป่วยจำนวน 416 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 65.96 ต่อประชากรแสนคน มีผู้ป่วยกระจายทุกอำเภอ ตั้งแต่ 2 ราย – 59 ราย

แนวโน้มอัตราป่วยโรคมือ เท้า ปากจังหวัดเลย ปี 2545 - 2556 อัตราต่อประชากรแสนคน

จำนวนผู้ป่วยโรคมือ เท้า ปากจังหวัดเลยรายเดือน ปี 2556 เปรียบเทียบมัธยฐาน 5 ปี

จำนวนผู้ป่วยโรคมือ เท้า ปากจังหวัดเลย รายสัปดาห์ ปี 2556 เปรียบเทียบค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ข้อมูล วันที่ 25 ธ.ค.56

อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยโรคมือ เท้า ปากจังหวัดเลย ปี 2556 แยกรายอำเภอ สะสมตั้งแต่ต้นปี – 25 ธันวาคม 2556 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน จำนวน 58 76 30 12 42 17 20 59 59 9 10 8 8 2 ราย

อัตราป่วยโรคมือ เท้า ปาก จังหวัดเลย ปี 2556 แยกกลุ่มอายุ อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ปี จำนวน 0 362 44 9 1 0 0 0 0 0 0 ราย

การระบาดของโรคมือ เท้า ปาก ในสถานศึกษา จังหวัดเลย ปี 2556 1. การระบาดของโรคมือ เท้า ปากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแห่งหนึ่ง ตำบลเหล่ากอหก อำเภอนาแห้ว จังหวัดเลย ระหว่างวันที่ 14 – 25 มกราคม 2556 พบผู้ป่วย 4 ราย จากการส่งตรวจยืนยันพบเชื้อไวรัส คอกซากี เอ 16 จำนวน 3 ราย และไวรัสเอนเทอโร 71 จำนวน 1 ราย สาเหตุ/ที่มาของการระบาดเนื่องมาจากผู้ป่วยรายแรกมีประวัติเดินทาง/รับเชื้อมาจากจังหวัดหนึ่งทางภาคเหนือซึ่งมีการระบาดของโรคมือ เท้า ปาก

การระบาดของโรคมือ เท้า ปาก ในสถานศึกษา จังหวัดเลย ปี 2556 2. การระบาดของโรคมือ เท้า ปากในโรงเรียนอนุบาลแห่งหนึ่ง ในเขตเทศบาลเมือง พบผู้ป่วยชั้นอนุบาล 1 – 3 จำนวน 9 ราย ระหว่างวันที่ 25 พ.ย. – 2 ธ.ค.56 ผลการตรวจยืนยันพบเชื้อไวรัส เอนเทอโร 71 จำนวน 2 รายจาก 4 ราย ที่มาของการระบาดน่าจะติดเชื้อที่โรงเรียนแต่สรุปชัดเจนไม่ได้เนื่องจากผู้ป่วยแต่ละรายไม่มีประวัติการเดินทางและไม่มีประวัติสัมผัสโรคในชุมชนที่อาศัย

การระบาดของโรคมือ เท้า ปาก ในชุมชน จังหวัดเลย ปี 2556 จากการตรวจจับการระบาดของโรคมือ เท้า ปากในชุมชน จากฐานข้อมูล 506 พบการระบาดตั้งแต่ 2 รายขึ้นไปในชุมชน/หมู่บ้านเดียวกันในช่วง 7 วัน มี 4 เหตุการณ์ ดังนี้ 1. บ้านผาสามยอด ตำบลผานกเค้า อำเภอภูกระดึง พบผู้ป่วย 5 ราย (3–9 ม.ค.56) 2.บ้านวังไผ่ ตำบลผานกเค้า อำเภอภูกระดึง พบผู้ป่วย 4 ราย (14–25 ม.ค.56) 3.บ้านวังเป่ง ตำบลอิปุ่ม อำเภอด่านซ้าย พบผู้ป่วย 3 ราย (29 มิ.ย.–9 ก.ค.56) 4.บ้านน้ำเย็น ตำบลกกสะทอน อำเภอด่านซ้าย พบผู้ป่วย 2 ราย (22–26 ก.ค.56)

การสอบสวนผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า บ้านยาง ต.ท่าลี่ อ.ท่าลี่ จ.เลย วันศุกร์ที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ เวลา ๑๕.๐๐ น. 1)สาธารณสุขอำเภอท่าลี่ แจ้งว่า กลุ่มงานควบคุมโรค สุนัขบ้านเลขที่ ๗๗ ม.๕ ต.ท่าลี่ อ.ท่าลี่ ที่สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดเลย ส่งหัวสุนัขตรวจที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต.ท่าพระ อ.เมือง จ.ขอนแก่น เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๖ วันที่ตอบผล ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า โดยวิธี Fluorescent Antibody Technique 2)กลุ่มงานควบคุมโรค (นางสาวอังษณา ยศปัญญา และนางสาวสมจิตร วิจิตรจันทร์) ได้รับแจ้งจากกลุ่มงานพัฒนาสุขภาพสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดเลย เตรียมออกสอบสวนโรคร่วมกันในวันที่ศุกร์ที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ เวลา ๑๕.๓๐ น.

ผลการสอบสวนโรค สุนัขบ้าเป็นเพศเมีย ชื่อหมูหลง สีน้ำตาลดำ ลูกผสมอัลเซเซียล รับลูกหมามาเลี้ยงตั้งแต่ยังไม่ลืมตา นำมาจากบ้านน้ำแคม อ.ท่าลี่ อายุ ๑ ปี ๖ เดือน น.ส.นวพรรษ ไชยเลิศ เป็นเจ้าของ บ้านเลขที่ ๗๗ ม.๕ ต.ท่าลี่ อ.ท่าลี่ จ.เลย บ้านเป็นบ้านปูนชั้นเดียวปลูกอยู่ใกล้เคียงเพื่อนบ้าน ๒-๓ หลัง ไม่มีบริเวณ เลี้ยงดูแบบปล่อย ข้างบ้านเลี้ยงสุนัข วันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ นส.นวพรรษ ไชยเลิศ สังกตว่า หมูหลง ขาหน้าบวมทั้งสองข้าง เท้าข้างขวาบวมมาก หน้าบวม โดยเฉพาะบริเวณปาก จึงนำมาทำแผล ใส่ยาให้ และให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า ย้อนหลังไปประมาณ ๒ อาทิตย์ (นับจากวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๖) หมูหลง มีแผลที่ปากซ้าย และเท้าขวา น่าจะเริ่มป่วยวันที่ 4 ธค.56 (ระยะฟักตัวประมาณ 5 วัน) และสามารถแพร่เชื้อได้ตั้งแต่วันที่ 1-3 ธค.56

วันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ นส.นวพรรษ ไชยเลิศ ไปไร่มันสำปะหลัง โดยรถมอเตอร์ไซด์ และให้หมูหลงยืนซ้อนข้างหน้า ระหว่างเดินทางเอามือขวาลูบหัวหมูหลงเล่น โดนหมูหลงกัดที่บริเวณนิ้วชี้มือข้างขวาตรงปลายเล็บด้านซ้าย มีเลือดออก โดนกัดวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ เวลา ๑๑.๐๐ น. ถึงไร่มัน เปิดน้ำประปาล้างแผล โดยไม่ได้ใช้สบู่ฟอก/ไม่ได้ใส่ยาใส่แผล **การล้างแผลด้วยสบู่สามารถฆ่าเชื้อไวรัส และลดจำนวนเชื้อที่จะเข้าสู่บาดแผลได้** จากนั้นกลับบ้านพร้อมหมูหลง และไปที่ รพ.สต.บ้านยางในวันเดียวกัน ถึง รพ.สต.บ้านยาง เวลา ๑๓.๐๐ น. เพื่อไปล้างแผล จนท.ล้างแผลให้ และใส่ยา สังเกตแผลไม่มีเลือดออก เจ้าหน้าที่แนะนำให้ไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าที่โรงพยาบาลท่าลี่ ส่วนหมูหลงให้ฝูกไว้ (ล่ามโซ่) เพื่อสังเกตอาการ โดยหมูหลงมีอาการหางตก ไม่ค่อยกินข้าว

นส.นวพรรษ ไชยเลิศ ไปรับการฉีดวัคซีนที่โรงพยาบาลท่าลี่ วันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ หลังเวลาราชการ เจ้าหน้าที่แจ้งว่าไม่มีการเปิดให้บริการวัคซีน ให้มาวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ แต่ติดธุระ ไปรับวัคซีนวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๖ ได้ ERIG EQUINE Antirabies Globulin 1,000 unit และ VERO Rabies 1 course ID วันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๕๖ เวลา ๑๓.๕๕ น. หมูลงตาย นส.นวพรรษ ไชยเลิศ แจ้ง จนท.รพ.สต.บ้านยาง เจ้าหน้าที่แนะนำให้เอาหมูหลงใส่ถุงดำไว้ และแจ้งปศุสัตว์ ประมาณวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๕๖ เวลา ๒๑.๐๐ น. อาสาปศุสัตว์ ได้มาทำการตัดหัวหมูหลง และนำส่งสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด วันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด นำส่งศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๖ ผลชันสูตรออกวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ โดยตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า

การสอบสวนหาผู้สัมผัสใกล้ชิดร่วมบ้าน และชุมชน สมาชิกร่วมบ้าน (ลำดับ 1-7) ประกอบด้วย ๑.นายประเวศ ไชยเลิศ อายุ ๖๒ ปี ๒.นายดิลก ไชยเลิศ อายุ ๑๖ ปี ๓.ดช.อดิสรณ์ ไชยเลิศ อายุ 12 ปี ๔.นส.นวพรรษ ไชยเลิศ อายุ ๓๕ ปี โดนกัดที่นิ้วชี้มือขวา บริเวณปลายนิ้ว ด้านซ้าย ๕.นายธวัชชัย บัวภาศรี อายุ ๓๕ ปี สามี นส.นวพรรษ ไชยเลิศ ประวัติการสัมผัสโรค วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ ตอนเย็นโดนหมูหลงกัดที่หลังเท้าข้างขวา โดนกัดในขณะที่ใส่รองเท้าบู๊ทและถุงเท้า มีรอยแผลประมาณ ๑ ซม. มีเลือดซึม ล้างน้ำเปล่า ใส่ยาแดง ไม่ยอมไปฉีดวัคซีน จนท.ได้แนะนำแล้ว ได้ข้อมูลว่าเป็นคนไม่ชอบไปหาหมอ ในวันที่ลงสอบสวนโรค (๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖) ยังพบรอยแผลที่หลังเท้าขวาประมาณ ๑ ซม. แผลเริ่มติดแล้ว

๖.นางบัวภา ยะฐา อายุ ๘๖ ปี ๗.นายชานิศ ช่วยศิริ อายุ ๑๕ ปี ชอบเล่นกับหมูหลง ๘.นายเกษม สุทธิ อายุ ๔๗ ปี อาสาปศุสัตว์ (ตัดหัวหมูหลง) จากการสอบถามเพิ่มเติม พบว่า หมูหลง ได้ไปกัดไก่ที่บ้านนายลุน บ้าน อยู่ตรงข้าม รพ.สต.บ้านยาง ไปกัดเป็ดบ้านนางติ๋ม โกษาจันทร์ อยู่หลัง โรงเรียน และไปกัดไก่บ้านนายวัฒนา ไชยเลิศ ทำให้ค้นหาผู้สัมผัสโรคร่วม ในชุมชนได้ดังนี้ ๙.นายตำตัน โกษาจันทร์ อายุ ๔๗ ปี หมูหลงกัดป็ดวันที่ ๓-๔ ธันวาคม ๒๕๕๖ จำนวน ๔ ตัว จับได้ ๓ ตัว ชำแหละเป็ดทั้ง ๓ ตัว ย่างเป็นอาหาร และอีก ๑ ตัว เจอตอนเย็น ชำแหละเองทั้งหมด

๑๐. นางถนอมศิลป์ ส่วงชัยภูมิ อายุ ๖๓ ปี บ้านเลขที่ ๑๐๔ ม ๑๐.นางถนอมศิลป์ ส่วงชัยภูมิ อายุ ๖๓ ปี บ้านเลขที่ ๑๐๔ ม.๙ หมูหลงกัดเป็ดๆตาย ๔ ตัว จับใส่ถุงไปให้นายคำตัน โกษาจันทร์ ชำแหละ ๓ ตัว ๑ ตัวหาไม่เจอ เจอตอนเย็นของวันเดียวกัน นำไปให้นายคำตัน โกษาจันทร์ ชำแหละทั้ง ๔ ตัว ๑๑.นายบุญพามา โสมชัยภูมิ อายุ ๖๐ ปี เป็นคนนำเป็ดไปให้นายคำตัน โกษาจันทร์ ๑๒.นส.รสรินทร์ อินทร์มา (ระหว่างลงพื้นที่ ไม่ได้ข้อมูล) เป็น close contact ที่พื้นที่สอบสวนเพิ่มเติม ๑๓.นายวัฒนา ไชยเลิศ ชำแหละไก่ที่โดนหมูหลงกัด ๑ ตัว ประมาณ ๑ อาทิตย์ นับจากวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖

ลำดับ ชื่อ-สกุล อายุ (ปี) ประวัติการได้รับวัคซีน ลำดับ ชื่อ-สกุล อายุ (ปี) ประวัติการได้รับวัคซีน Vero Rabies วันเดือนปี ERIG วันเดือนปี 1. นายประเวศ ไชยเลิศ 62 / 20 ธค.56 2. นายดิลก ไชยเลิศ 16 / 20 ธค.56 3. ดช.อดิสรณ์ ไชยเลิศ 12 / 20 ธค.56 4. นส.นวพรรศ ไชยเลิศ 35 โดนกัด / 12 ธค.56 / 12 ธค.56 5. นางบัวภา ยะซา 86 / 20 ธค.56 6. นายธวัชชัย บัวภาศรี 35 โดนกัด / 20 ธค.56 / 20 ธค.56 7. นายชานิศ ช่วยหิรัญ 15 คลุกคลี / 20 ธค.56 / 20 ธค.56

ลำดับ ชื่อ-สกุล อายุ (ปี) ประวัติการได้รับวัคซีน Vero Rabies วันเดือนปี ERIG วันเดือนปี นายเกษม สุทธิ ตัดวสุนัข 47 / 20 ธค.56 / 20 ธค.56 นายคำตัน โกษาจันทร์ ชำแหละเป็ด 47 / 20 ธค.56 / 20 ธค.56 10. นายบุญพามา โสมชัยภูมิ นำเป็ดไปให้ 9 67 / 20 ธค.56 / 20 ธค.56 11. นายวัฒนา ไชยเลิศ ชำแหละไก่ / 20 ธค.56 / 20 ธค.56 12. นางถนอมศิลป์ ส่วงชัยภูมิ จับเป็ดใส่ถุง 63 / 20 ธค.56 / 20 ธค.56 13. นส.รสรินทร์ อินทร์มา / 20 ธค.56

การเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรค ๑.ด้านสาธารณสุข ๑.๑แนะนำให้ รพ.สต.บ้านยาง สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ ประชาชนบ้านยาง และบ้านกกก้านเหลือง/บ้านวังขาม ซึ่งบ้านยางเป็นพื้นที่เกิดโรค และอีกสองหมู่บ้านเป็นหมู่บ้านที่มีพื้นที่ติดกับบ้านยางในเรื่องอาการของโรค การหลีกเลี่ยงไม่ให้สุนัขกัด การล้างแผลเมื่อถูกสุนัขกัด การไปรับวัคซีนเมื่อถูกสุนัขกัด การนำสุนัขไป/แมว ไปรับวัคซีน และการสังเกตอาการสุนัข/แมวที่เลี้ยงไว้ โดยการออกหอกระจายข่าวเช้า-เย็น และดำเนินการอย่างเข้มข้นในระยะเวลา ๑ เดือน นับจากวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ ๑.๒แนะนำให้ รพ.สต.บ้านยาง เข้าไปให้ความรู้ครูอนามัย เรื่องโรคพิษสุนัขบ้า เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนทุกคน

๑.๓การเฝ้าระวังในคน -ค้นหาผู้สัมผัสเพิ่มเติมในชุมชน เนื่องจากการลงพื้นที่สอบสวนโรคในวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ อาจจะได้ข้อมูลผู้สัมผัสโรคไม่ครอบคลุม -ผู้ที่โดนหมูหลงกัดสองราย ให้เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด ระยะเข้มข้นภายใน ๑ เดือนหลังโดนหมูหลงกัด และเฝ้าต่อเนื่องไปอีก ๑ ปี เนื่องจากระยะฟักตัวของโรคสั้นที่สุด ๑ เดือน และยาวที่สุด ๑ ปี รวมทั้งให้สุขศึกษาแก่ผู้โดนกัดในประเด็นเมื่อเจ็บป่วยและไปรับการรักษา ณ โรงพยาบาลแห่งอื่นที่ไม่มีประวัติว่าโดนสุนัขบ้ากัด ขอให้แจ้งข้อมูลแก่แพทย์ และพยาบาลผู้ซักประวัติด้วย ๑.๔ขอให้ รพ.สต.บ้านยาง ช่วยเหลือด้านปศุสัตว์ในการจัดทำแผนสุขภาพเรื่องการทำวัคซีนในสุนัข/แมว

4.สุนัขไม่ได้รับวัคซีน ๒.ด้านปศุสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ได้สำรวจประชากรสุนัข/แมว เพื่อทำวัคซีน และได้ดำเนินการสอบสวนควบคุมโรคด้านปศุสัตว์ ขณะนี้ ยังดำเนินการไม่แล้วเสร็จ จะสรุปรายงานภายหลัง การติดตามประเมินผล หลังจากดำเนินการให้วัคซีนในสุนัข/แมว ในระหว่างวันที่ ๒๐-๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรียบร้อยแล้ว กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดเลย และสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดเลย ได้ดำเนินการประเมินความครอบคลุม ของการได้รับวัคซีน และประเมินความรู้ของประชาชนใน ๓ หมู่บ้าน เลือกตัวอย่าง ร้อยละ ๓๐ จำนวนกลุ่มตัวอย่าง ๑๖๐ ตัวอย่าง อยู่ระหว่างการเก็บข้อมูล สิ่งที่พบในพื้นที่ 1.การเปิดบริการให้วัคซีน วันที่ 20 ธค.56 เวลาประมาณ 18.00 น. ขณะลงพื้นที่ ได้โทรศัพท์มาที่ รพ.ท่าลี่ ประสานเรื่องการนำผู้สัมผัสมารับวัคซีน จนท.ให้ข้อมูลว่า ไม่เปิดให้บริการนอกเวลาราชการ จึงประสานขอความร่วมมือไปยังเภสัช รพ.ท่าลี่ 2.ด้านความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้า จากการลงพื้นที่เห็นว่าความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การลดจำนวนเชื้อเข้าสู่ร่างกายยังปฏิบัติไม่ถูกต้อง 3.ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าอาจจะไม่เพียงพอ เห็นได้จากไม่สามารถชักนำให้ผู้ถูกกัด รายที่สอง ไม่ไปรับวัคซีน หรือ จนท.อาจจะไม่กระตุ้นเตือนบ่อยๆโดยให้ข้อมูลว่าหาก เป็นโรคแล้วรักษาไม่ได้ ต้องตายทุกคน 4.สุนัขไม่ได้รับวัคซีน