สถาบันการเมืองการปกครอง สถาบันทางสังคม สถาบันการเมืองการปกครอง
สมาชิก 1. นายสราวุธ. ตั้งตรงวานิชนาม ม. 4/6 เลขที่ 23 2. นางสาวฐิติพร สมาชิก 1.นายสราวุธ ตั้งตรงวานิชนาม ม.4/6 เลขที่ 23 2.นางสาวฐิติพร วุ่นบำรุง ม.4/6 เลขที่ 27 3.นางสาวพิชญา พึ่งตาล ม.4/6 เลขที่ 28 4.นางสาวชลนิสา นมัสการ ม.4/6 เลขที่ 31 5.นางสาวชลธิชา นวลประดิษฐ ม.4/6 เลขที่ 33 6.นางสาวนิศาชล เพียรเขตกิจ ม.4/6 เลขที่ 37 7.นางสาววันวิสา รอดทอง ม.4/6 เลขที่ 41
ข้อที่ 1 สถาบันที่กำหนดบทบาทในการจัดการทางสังคม ประกอบด้วยกลุ่มคนหรือองค์กรทางสังคมคือสถาบันใด ?
สถาบันการเมืองการปกครอง เป็นสถาบันที่ กำหนดบทบาทในการจัดการทางสังคมประกอบด้วยกลุ่มคนหรือองค์กรทางสังคมที่มีหน้าที่รักษาความสงบสุข และความมั่นคงของชาติเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ ช่วยป้องกันและปราบปราม ช่วยวางแผนและกำหนดนโยบายของส่วนรวม ให้หลักประกันคุ้มครองเสรีภาพของบุคคล และสร้างความมั่นคงให้กับชีวิต
ข้อที่ 2 หน้าที่ของการเมืองการปกครองมีกี่อย่างอะไรบ้าง ?
หน้าที่ของสถาบันการเมืองการปกครอง 1 หน้าที่ของสถาบันการเมืองการปกครอง 1.ให้หลักประกันในเรื่องสิทธิและเสรีภาพแก่สมาชิกของสังคม เพื่อคุ้มครองสมาชิดให้ปลอดภัย 2.ป้องกันและระงับข้อพิพาท สร้างความยุติธรรมระหว่างสมาชิก โดยการบังคับใช้กฎหมายในการตัดสินกรณีพิพาทต่างๆ 3.รักษาความมั่นคงและความสงบเรียบร้อยของสังคม โดยการบัญญัติกฎหมายขึ้นใช้และควบคุมให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย 4.ป้องกันสมาชิกไม่ให้ถูกรุกรานจากภายนอก โดยสร้างความร่วมมือกับสังคมอื่นและความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิก
ข้อที่ 3 นายกรัฐมนตรีมีบทบาทใดในสถาบันการเมืองการปกครอง?
บทบาทของสมาชิก สมาชิกของสถาบันการเมืองการปกครองมีบทบาท เช่น นายกรัฐมนตรีควบคุมดูแลการทำงานของคณะรัฐมนตรี
ข้อที่ 4 สมาชิกผู้แทนราษฎรมีบทบาทใดในสถาบันการเมืองการปกครอง?
บทบาทของสมาชิก ส่วนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีบทบาทในการตรวจสอบการทำงานของฝ่ายรัฐบาล
ข้อที่ 5 ประชาชนมีบทบาทอย่างไรในสถาบันการเมืองการปกครอง?
บทบาทของสมาชิก สำหรับประชาชนมีบทบาท คือ รักษาสิทธิเสรีภาพของตนเอง และปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด