งานนำเสนอ เรื่อง คอมพิวเตอร์ยุคที่ สาม (T HIRD G ENERATION : ) เสนอ อาจารย์ อภิศักดิ์ พัฒน จักร จัดทำโดย กลุ่มที่ 3 SC-ICT SEC.1 นายจีรพัฒน์ อุมัษเฐียร นายเจษฎ์บดินทร์ จิตต์โสภิตา นนท์ นางสาวชญาณิทิพย์ บุญลบ
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3: ค. ศ.1965 – 1971 วิวัฒนาการของเครื่อง คอมพิวเตอร์ยุคที่สามเริ่มขึ้น เมื่อ Jack SL. Clair Kirby และ Robert Noyce ได้ ร่วมกันพัฒนาอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิคส์ขึ้น เรียกว่า ไอซี (IC : Integrated Circuit) ได้ใช้เทคนิคที่ เรียกว่า เอสเอสไอ (SSI : Small-Scale Integration), เอ็มเอสไอ (MSI : Medium-Scale Integration)
และแอลเอสไอ (Large- Scale Integration) ใน การบรรจุทรานซิสเตอร์ลง บนไอซี ทำให้ คอมพิวเตอร์เริ่มมีขนาด และความเร็วลดลง ส่วน อุปกรณ์ที่เป็นหน่วยรับ และแสดงผลข้อมูลเปลี่ยน มาใช้แมคเนติคดิสก์ (Magnetic Disk) และ หน่วยความจำเปลี่ยนมา เป็นอุปกรณ์ประเภทสาร กึ่งตัวนำ (Semiconductor)
ในยุคนี้เทคนิคการเขียน โปรแกรมเพื่อใช้สั่งงาน คอมพิวเตอร์นั้นมีหลากหลาย มากขึ้น ได้แก่ เทคนิคที่ใช้ ควบคุมการทำงานของหน่วย ประมวลผลกลางหรือ หน่วย ประมวลผลกลางเรียกว่า ไมโครโปรแกรมมิ่ง ( M ICROPROGRAMING ) และ เทคนิคที่ทำให้สามารถควบคุม การเข้าใช้ทรัพยากรของระบบ ร่วมกันในเวลาเดียวกันเรียกว่า ไทม์แชริ่ง ( TIMESHARING ) เป็นต้น
ลักษณะที่สำคัญของ คอมพิวเตอร์ในยุคที่สาม ประมาณปี ค. ศ ได้มีการพัฒนาสร้าง ทรานซิสเตอร์จำนวนมาก ลงบนแผ่นซิลิกอน ขนาดเล็ก และเกิดวงจร รวมบนแผ่นซิลิกอนที่ เรียกว่า ไอซี การใช้ไอซี เป็นส่วนประกอบทำให้ คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง ราคาถูกลง จึงมีบริษัทผลิต คอมพิวเตอร์กันมากขึ้น คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กลง เรียกว่า " มินิคอมพิวเตอร์ "
วงจรรวม (Integrated Circuit : IC)
ดังนั้น คอมพิวเตอร์ในยุคที่สาม เป็น คอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมี ทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายใน มากมาย ทำให้เครื่อง คอมพิวเตอร์จะออกแบบ ซับซ้อนมากขึ้น และสามารถ สร้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ใน การกำหนดชุดคำสั่งต่าง ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบ ควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้ง ในรูประบบแบ่งเวลาการทำงาน ให้กับงานหลาย ๆ อย่าง
IC : Integrated Circuit
ลักษณะที่สำคัญของ คอมพิวเตอร์ในยุคที่สาม หน่วยความจำสำรองบรรจุ ข้อมูลได้ประมาณ – ตัวอักษร มีเทคนิคการโปรแกรม คอมพิวเตอร์ด้วยภาษาระดับสูง ในแบบต่าง ๆ เช่น ไมโคร โปรแกรมมิ่ง (Microprograming), มัลติ โปรแกรมมิ่ง (Multiprograming) และมัลติ โปรเซสซิ่ง (Multiprocessing) เป็นต้น
ลักษณะที่สำคัญของ คอมพิวเตอร์ ในยุคที่สาม มีซอฟแวร์ระบบปฏิบัติการ ควบคุมการติดต่อกับ อุปกรณ์ต่าง ๆ หน่วยเวลาในการ ประมวลผลวัดเป็น Nanosecond(1/10 9 วินาที ) สามารถประมวลผลได้ ประมาณ 10 ล้านคำสั่งต่อ วินาที
ตัวอย่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เครื่อง PDP 8 ของ บริษัทดิจิตอล อิควิปเมนท์ (DEC) เครื่อง IBM 360, IBM 1400 ของ บริษัทไอบีเอ็ม HP-2115 ของ บริษัทเอชพี เป็นต้น
IBM 360 ตัวอย่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3
IBM 1400 ตัวอย่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3