สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
Ex ส่วนราชการจะผลิตของออกขาย ต้องใช้ระเบียบใด การร่วมทุนที่มีวงเงินไม่เกิน 1,000 ล้านบาท อยู่ภายใต้การบังคับระเบียบพัสดุหรือไม่
กระบวนการจัดหาพัสดุ การจัดทำเอง (ไม่มีค่าจ้าง) การซื้อ (ซื้อพร้อมติดตั้ง) การจ้าง (จ้าทำของ จ้างแหมาบริการ จ้างรับขน) การจ้างที่ปรึกษา (จ้างบริการทางวิชาการ) การจ้างออกแบบและควบคุมงาน(ก่อสร้าง,อาคาร, งป.) การเช่า (สังฯใช้ซื้อมาบังคับ , อสังฯข้อ 128-131) การแลกเปลี่ยน (วัสดุ,ครุภัณฑ์)
Ex ส่วนราชการเริ่มจัดหาได้เมื่อใด - ระเบียบฯ ข้อ 13 กำหนดว่า หลังจากได้ทราบยอดเงิน ที่จะนำมาใช้ในการจัดหา ให้ส่วนราชการรีบดำเนินการจัดหาตามแผน คำว่า “ทราบยอดเงิน” คือ เมื่อใด คำวินิจฉัย กวพ. - เงินงบประมาณ งบผ่านสภา - เงินงบกลาง สำนักงบประมาณอนุมัติแล้ว
Ex การจ้าง และการเช่า ต่างกันอย่างไร - จ้างเขาทำให้ (จ้างรถรับขน) การจ้าง และการเช่า ต่างกันอย่างไร - จ้างเขาทำให้ (จ้างรถรับขน) - เช่าเราทำเอง (เช่าเครื่องถ่ายเอกสาร)
Ex ข้อหารือ ของหน่วยงานผู้ตรวจสอบ ถามว่า ข้อหารือ ของหน่วยงานผู้ตรวจสอบ ถามว่า การจ้าง ต่างกับ การจ้างที่ปรึกษาอย่างไร - การจ้างที่ปรึกษา หมายถึง การจ้างบุคคล หรือนิติบุคคล ที่ประกอบธุรกิจหรือสามารถให้บริการทางวิชาการ รวมทั้งด้านศึกษา สำรวจ ออกแบบและควบคุมงาน และการวิจัย ซึ่งต้องอาศัยความรู้ความสามารถ หรือความชำนาญในทางวิชาการ (การจ้างผู้มีฝีมือเฉพาะหรือมีความชำนาญเป็นพิเศษ เป็นการจ้างทำของหรือจ้างเหมาบริการ)
ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ โดยตำแหน่ง ข้าราชการ โดยแต่งตั้ง ข้าราชการ ลูกจ้าง โดยตำแหน่ง โดยแต่งตั้ง อธิบดี (ส่วนกลาง) ผู้ว่าราชการจังหวัด (ส่วนภูมิภาค) หัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง รัฐมนตรีเจ้าสังกัด เจ้าหน้าที่พัสดุ หน.เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ-จ้าง คณะกรรมการต่าง ๆ /ผู้ควบคุมงาน ข้าราชการ
Ex หัวหน้าส่วนราชการมอบอำนาจการอนุมัติจัดซื้อจัดจ้างให้หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุได้หรือไม่ ตอบ - ได้ แต่ต้องแต่งตั้งหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุใหม่ เหตุผล เมื่อหน.เจ้าหน้าที่พัสดุ เป็นผู้ใช้อำนาจของหัวหน้าส่วนราชการแล้ว หน้าที่ หน.เจ้าหน้าที่พัสดุควรเปลี่ยนไป ระเบียบต้องการให้มีการตรวจสอบระหว่างผู้บริหารและเจ้าหน้าที่
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ. ศ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ส่วนที่ 2 การใช้บังคับและการมอบอำนาจ ข้อ 9 ผู้มีอำนาจดำเนินการตามระเบียบนี้ จะมอบอำนาจเป็น หนังสือให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งใดก็ได้ โดยให้คำนึงถึง ระดับตำแหน่ง หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ที่ได้รับมอบ ผู้รับมอบ มีหน้าที่ต้องรับ และจะมอบต่อไม่ได้ ยกเว้น - ผู้ว่าราชการจังหวัด อาจมอบต่อได้... - กลาโหม มอบต่อตามระเบียบกระทรวงกลาโหม
บทกำหนดโทษ ผู้มีอำนาจ ผู้มีหน้าที่ ผู้หนึ่งผู้ใด กระทำโดยจงใจ ประมาทไม่ปฏิบัติตามระเบียบ กระทำโดยทุจริต ปราศจากอำนาจ นอกเหนืออำนาจ ขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม ถือว่ากระทำผิดวินัย ภายใต้หลักเกณฑ์ - ทุจริต อย่างต่ำปลดออก - เสียหายอย่างร้ายแรง อย่างต่ำปลดออก - เสียหายไม่ร้ายแรง อย่างต่ำตัดเงินเดือน - ไม่เสียหาย ภาคทัณฑ์ หรือว่ากล่าวตักเตือนเป็นหนังสือ
ขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง การตรวจรับ - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ - คณะกรรมการตรวจการจ้าง - ผู้ควบคุมงาน ขอความเห็นชอบ ดำเนินการ วิธีจัดซื้อจัดจ้างทั่วไป 6 วิธี ขออนุมัติ - หัวหน้าส่วนราชการ - ปลัดกระทรวง/ทบวง - รัฐมนตรีเจ้าสังกัด การทำสัญญา หัวหน้าส่วนราชการ
Ex ถาม หากไม่ทำตามลำดับขั้นตอน จะทำย้อนขั้นตอนได้หรือไม่ ถาม หากไม่ทำตามลำดับขั้นตอน จะทำย้อนขั้นตอนได้หรือไม่ ตอบ ทำได้ เฉพาะวิธีตกลงราคาเร่งด่วน องค์ประกอบ - จำเป็นเร่งด่วน - ไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน - ดำเนินการปกติไม่ทัน
วิธีการจัดหา การจัดซื้อหรือจ้าง วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท วิธีสอบราคา เกิน 100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท วิธีประกวดราคา เกิน 2,000,000 บาท วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท แต่มีเงื่อนไข วิธีกรณีพิเศษ ไม่มีกำหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) ตามระเบียบฯ 49 (2ล.e) การจัดซื้อหรือจ้าง
Ex แบบแข่งขัน กับ แบบไม่แข่งขันมีหลักการแตกต่างกันอย่างไร ต้องตรวจสอบได้ แบบแข่งขัน ต้องเปิดเผย - ประกาศทราบทั่วกัน ต้องโปร่งใส - ตรวจสอบได้ ต้องเป็นธรรม - เงื่อนไข เสมอภาค ไม่ขัดขวาง - ผ่อนปรน ไม่ก่อให้เกิดการได้เปรียบเสียเปรียบ - ตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน
การตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน ตรวจการมีส่วนได้เสียกันทั้งทางตรงและทางอ้อม ทางตรง(ตัวจริง) ทางอ้อม(ตัวแทน) การมีส่วนได้เสียไม่ว่าทั้งทางตรงหรือทางอ้อม ความสัมพันธ์กันในเชิงบริหาร ความสัมพันธ์กันในเชิงทุน มีความสัมพันธ์ในเชิงไขว้ ระหว่างบริหารกับทุน
บริษัท A บริษัท B หจก. C บริหาร - นาย ก.เป็น กรรมการผู้จัดการ - นาย ข.เป็น กรรมการผู้จัดการ - นาย ก. เป็น หุ้นส่วนผู้จัดการ ทุน – นาย ก. ถือหุ้น 26% – นาย ก. ถือหุ้น 20% – นาย ก. เป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จำกัดความรับผิดชอบ ไขว้ – นาย ก. ถือหุ้น 26% - นาย ก. เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ
Ex มีผลประโยชน์ร่วมกันในเชิงทุน ต้องห้ามเสนอราคามาในคราวเดียวกัน ถาม ในการประกวดราคาครั้งหนึ่ง มีผู้เสนอราคา 2 ราย คือ บ. TOT จำกัด (มหาชน) และ บ. กสท. โทรคมนาคม จำกัด(มหาชน) จะพิจารณาถึงการมีผลประโยชน์ร่วมกันอย่างไร กวพ. วินิจฉัยว่า - กระทรวงการคลัง ถือหุ้นรายใหญ่ทั้ง 2 บริษัท ต้องถือว่า มีผลประโยชน์ร่วมกันในเชิงทุน ต้องห้ามเสนอราคามาในคราวเดียวกัน - กรรมการบริษัทบางรายเป็นบุคคลเดียวกัน
การทำรายงานความเห็นชอบ หัวหน้าส่วนราชการ เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
รายละเอียดของรายงาน - เหตุผลความจำเป็น - รายละเอียดของพัสดุ - ราคามาตรฐาน หรือราคากลาง หรือราคาจัดหาครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปี - วงเงินที่จะซื้อ/จ้าง - กำหนดเวลาที่ต้องการใช้งาน - วิธีที่จะซื้อ/จ้าง - ข้อเสนออื่นๆ * การแต่งตั้งคณะกรรมการ * การออกประกาศสอบราคา หรือประกวดราคา
Ex - ระเบียบฯ 35 TOR จะเอามาจากไหนก็ได้ - E-Auction ต้องมีคณะกรรมการกำหนดร่าง TOR หมายเหตุ ระเบียบฯ 49 ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการร่าง TOR ก่อนการรายงานขอซื้อ/จ้าง
กรรมการ ซื้อ/จ้าง คณะ ก.ก. เปิดซองสอบราคา คณะ ก.ก. ตรวจการจ้าง+ผู้ควบคุมงาน คณะ ก.ก. รับและเปิดซองประกวดราคา คณะ ก.ก. พิจารณาผลการประกวดราคา คณะ ก.ก. จัดซื้อโดยวิธีพิเศษ คณะ ก.ก. จัดจ้างโดยวิธีพิเศษ คณะ ก.ก. ตรวจรับพัสดุ คณะ ก.ก. เปิดซองสอบราคา
การหาตัวผู้ขาย/ผู้รับจ้าง วิธีสอบราคา คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา วิธีประกวดราคา คณะกรรมการรับ และเปิดซองประกวดราคา คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา วิธีพิเศษ คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ
อำนาจการแต่งตั้งคณะกรรมการ หัวหน้าส่วนราชการ มีอำนาจแต่งตั้ง ประธานกรรมการ ไม่สามารถ ปฏิบัติหน้าที่ได้ จะทำอย่างไร หัวหน้าส่วนราชการแต่งตั้งข้าราชการที่มีคุณสมบัติตามระเบียบฯ ทำหน้าที่ แทน ประธานกรรมการ ยังไม่มา ปฏิบัติหน้าที่เมื่อถึงเวลาเปิดซองสอบราคาหรือรับซองประกวดราคา จะทำอย่างไร กรรมการเลือกกันเอง
Ex ถึงเวลาเคาะราคา e-Auction ประธานยังไม่มาปฏิบัติหน้าที่จะทำอย่างไร ? ถ้าถึงเวลาเปิดซองประกวดราคา ประธานยังไม่มาปฏิบัติหน้าที่จะทำอย่างไร ? (การดำเนินการไม่ชอบ) ถึงเวลาเคาะราคา e-Auction ประธานยังไม่มาปฏิบัติหน้าที่จะทำอย่างไร ? กวพ.อ. อนุมัติยกเว้นให้กรรมการเลือกกันเองทำหน้าที่เป็นประธานกรรมการชั่วคราวดำเนินการ และรายงานประธานตัวจริง และผู้แต่งตั้งทราบ (ที่ กค (กวพอ) 0408.4/ว 365 ลงวันที่ 22 ตุลาคม 2550)
ข้อห้ามตั้งบุคคลเดียวกันเป็นกรรมการหลายคณะ แต่งตั้งกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา เป็น กรรมการพิจารณาผล การประกวดราคา แต่งตั้งกรรมการเปิดซองสอบราคาหรือพิจารณาผล การประกวดราคา เป็น กรรมการตรวจรับพัสดุ
Ex ส่วนราชการหารือ กวพ.อ. วินิจฉัยว่าไม่ได้ กรรมการในคณะกรรมการประกวดราคา e-Auction เป็นกรรมการในคณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้หรือไม่ กวพ.อ. วินิจฉัยว่าไม่ได้ - หลักการ วินิจฉัยตามระเบียบฯ 35 กรรมการพิจารณาผล – ห้ามเป็น กรรมการตรวจรับพัสดุ ดังนั้น กรรมการ e-Auction ห้ามเป็น กรรมการตรวจรับพัสดุ
องค์ประกอบของคณะกรรมการ - ประธาน 1 คน - กรรมการอย่างน้อย 2 คน แต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ กรณีจำเป็นหรือเพื่อประโยชน์ราชการ แต่งตั้งบุคคลอื่นอีกไม่เกินสองคนร่วมด้วยก็ได้ **การแต่งตั้งคณะกรรมการจะต้องแต่งตั้งเป็นครั้งๆ ไป** (ไม่จำเป็นต้องมีรูปแบบ)
องค์ประชุม/มติของคณะกรรมการ องค์ประชุม ต้องมีกรรมการมาพร้อมกันไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่ง มติที่ประชุม ให้ถือเสียงข้างมาก เสียงเท่ากันประธาน ชี้ขาด (ยกเว้น การตรวจรับ ให้ถือมติเอกฉันท์)
Ex องค์ประกอบของคณะกรรมการต้องเป็นข้าราชการเท่านั้นหรือไม่ หลักการ (ระเบียบฯ 35) ประธาน/กรรมการ เป็นข้าราชการ, พนักงานราชการ, พนักงาน มหาวิทยาลัย,พนักงานของรัฐ,ลูกจ้างประจำ(กค(กวพ)0421.3/ว 417ลว.23 ต.ค.53) ผู้ตรวจรับ ข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ (ข้อ 35 ว. 5) ยกเว้น กวพ. ยกเว้นให้ (ที่ กค(กวพ)0421.3/ว 341 ลว.20 ก.ย.53) ดังนี้ กรณีมหาวิทยาลัย ให้ พนักงานมหาวิทยาลัย เป็นกรรมการหรือผู้ตรวจรับพัสดุ/งานจ้างได้ กรณีส่วนราชการ ให้ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานของรัฐ เป็นผู้ตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง หรือผู้ควบคุมงาน ได้ หลักการ (ระเบียบฯ49) e-Auction เป็นบุคคลากรในหน่วยงานและบุคคลภายนอกที่มิใช่ข้าราชการ
Ex หัวหน้าส่วนราชการไม่เห็นด้วยกับผลการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณาผล จะทำอย่างไร ? ระเบียบฯ 35 หัวหน้าส่วนราชการมีความเห็นแย้งกับคณะกรรมการ เป็นดุลพินิจหัวหน้าส่วนราชการ ระเบียบฯ 49 (10(4)) หัวหน้าส่วนราชการมีความเห็นแย้งกับคณะกรรมการ ยกเลิก
หน. เจ้าหน้าที่พัสดุเจรจาตกลง ตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท ขอความเห็นชอบ หน. เจ้าหน้าที่พัสดุเจรจาตกลง ทำข้อตกลง ตรวจรับ
สอบราคา เกิน 100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท สอบราคา เกิน 100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท ขอความเห็นชอบ ประกาศ ยื่น-รับซอง ภายในเวลา เปิดซอง ตรวจสอบผลประโยชน์ร่วมกัน พิจารณาผล ประกาศแจ้งผล ขออนุมัติ
ประกวดราคา ราคา เกิน 2,000,000 บาท ประกวดราคา ราคา เกิน 2,000,000 บาท ออกประกาศ ณ ที่ทำการ ส่งวิทยุและหนังสือพิมพ์ ส่งกรมประชาสัมพันธ์ ส่งองค์การสื่อสารมวลชน ส่งศูนย์รวมข่าวประกวด ราคา ส่ง สตง. ขอความเห็นชอบ ประกาศ ปิด-ส่ง 5 แห่ง ยื่น-ซอง วันเวลาเดียว ภายในเวลา EX ก่อนหน้าห้ามรับ เปิดซอง ตรวจสอบผลประโยชน์ร่วมกัน พิจารณาผล ขออนุมัติ
การดำเนินการ สอบราคา - ประกวดราคา คณะกรรมการฯ เป็นผู้ดำเนินการคัดเลือก ตรวจสอบคุณสมบัติผู้เสนอราคา,เงื่อนไข,รูปแบบรายการละเอียด คุณลักษณะเฉพาะ คัดเลือกสิ่งของ/งานจ้าง,คุณสมบัติผู้เสนอราคาที่เป็นประโยชน์ต่อราชการ พิจารณาราคาต่ำสุด ราคาเท่ากันหลายราย ยื่นซองใหม่(e- Auction-ต่อเวลา 3 นาทีทุกราย ) สูงกว่าวงเงิน ปฏิบัติตาม ข้อ 43 (ต่อรอง) ถูกต้องรายเดียว (ประกวด - ยกเลิก/รับ ) , ( สอบราคา - รับได้ )
การประกาศข่าวการประกวดราคา ส่งไปรษณีย์ EMS ประกาศ ณ ทำการ ส่งวิทยุและหนังสือพิมพ์ ส่งกรมประชาสัมพันธ์ ส่งองค์การสื่อสารมวลชน ส่งศูนย์รวมข่าวประกวดราคา ส่ง สตง. ประกาศ ฯ ใน web.หน่วยงาน,บก.(มติ ครม.) ในตู้ปิดประกาศมีกุญแจปิด มีผู้ปิดและผู้ปลดประกาศ ซึ่งมิใช่ คนเดียวกัน และมีพยานรับรองด้วย
การดำเนินการซื้อโดยวิธีพิเศษ (1) เงื่อนไข (ข้อ 23) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท วิธีการ (ข้อ 57) จนท. พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ให้ความเห็นชอบ 29 รายงาน ข้อ 27 - จะขายทอดตลาด เจรจาตกลงราคา - ซื้อเพิ่ม (Repeat Order) เจรจาผู้ขายรายเดิม เงื่อนไขเดิม ราคาเดิม หรือดีกว่า - เร่งด่วนช้าเสียหาย เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อรอง - ราชการลับ
เงื่อนไข (ข้อ 23) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท การดำเนินการซื้อโดยวิธีพิเศษ (2) เงื่อนไข (ข้อ 23) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท วิธีการ (ข้อ 57) สั่งตรงโดยให้หน่วยงานอื่นในต่างประเทศ สืบราคาให้ - ซื้อจากต่างประเทศ เชิญผู้ผลิต/ผู้แทนจำหน่ายมาเสนอราคา และต่อรอง - จำเป็นต้องระบุยี่ห้อ เชิญเจ้าของมาตกลงราคา - ซื้อที่ดินและสิ่งก่อสร้างเฉพาะ - ดำเนินงานโดยวิธีอื่นแล้ว ไม่ได้ผลดี สืบราคาจากผู้มีอาชีพขายและผู้เสนอ ราคาที่ถูกยกเลิกไป (ถ้ามี) ต่อรองราคา
Ex ส่วนราชการ ทร. หารือ การประมูลขายทอดตลาดตามหมายบังคับคดีของศาล โดย จพค. กระทำได้หรือไม่ กวพ. วินิจฉัยว่า ระเบียบไม่มีเจตนารมณ์ให้ทำได้
การดำเนินการจ้างโดยวิธีพิเศษ (1) - กรณีเป็นงานที่ต้องใช้ช่างฝีมือโดย เฉพาะหรือชำนาญโดยพิเศษ เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา เงื่อนไข (ข้อ 24) วงเงินเกิน 1 แสนบาท วิธีการ (ข้อ 58) จนท. พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ให้ความเห็นชอบ 29 รายงาน ข้อ 27 - เร่งด่วนช้าเสียหาย - กรณีเป็นงานจ้างซ่อมที่ไม่ทราบ ความเสียหาย
การดำเนินการจ้างโดยวิธีพิเศษ (2) - ราชการลับ เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา เจรจากับผู้รับจ้างรายเดิม ราคาต่ำกว่าหรือราคาเดิม สืบราคาจากผู้มีอาชีพรับจ้างและ ผู้เสนอราคาที่ถูกยกเลิกไป (ถ้ามี) ต่อรองราคา - ดำเนินการโดยวิธีอื่น ไม่ได้ผลดี - จ้างเพิ่ม (Repeat Order)
การดำเนินการซื้อและการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ ส่วนราชการ /รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานตามกฎหมาย ท้องถิ่น วงเงินเกิน 100,000 บาท หน.ส่วนราชการเป็นผู้สั่งซื้อหรือจ้าง - วงเงินไม่เกิน 100,000 บาท เป็นอำนาจ หัวหน้า.จนท.พัสดุ (ข้อ27) (ข้อ29) จนท.พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ติดต่อตกลงราคา กับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง 1. เป็นผู้ทำ/ผลิตเองและนายกรัฐมนตรีอนุมัติ หลักการแล้ว 2. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี ให้ซื้อ/จ้าง เงื่อนไข :
การจ้างที่ปรึกษามี 2 วิธี 1 วิธีตกลง 2 วิธีคัดเลือก
คณะกรรมการจัดจ้างที่ปรึกษา คณะกรรมการฯ มี 2 คณะ ได้แก่ 1 คณะกรรมการดำเนินการจัดจ้างที่ปรึกษา โดยวิธีตกลง 2 คณะกรรมการดำเนินการจัดจ้างที่ปรึกษา โดยวิธีคัดเลือก
องค์ประกอบของคณะกรรมการจัดจ้างที่ปรึกษา(79) ประธานกรรมและกรรมการอื่นอย่างน้อย 4 คน - แต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานของรัฐ - กรณีเงินกู้ ให้มีผู้แทนจากสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะด้วย 1 คน - ในกรณีจำเป็นหรือเพื่อประโยชน์ราชการ จะแต่งตั้งบุคคลอื่นซึ่งเป็นผู้ชำนาญการร่วมไม่เกิน 2 คน
การดำเนินการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง เงื่อนไขการจ้าง (83) จนท.พัสดุ หน.ส่วนราชการ รายงาน (ข้อ 78) - เคยทราบหรือเคยเห็นความสามารถและผลงานมาแล้ว - จ้างโดยเร่งด่วน - เป็นการจ้างไม่เกิน 100,000 บาท - เป็นการจ้างเพื่อทำงานต่อเนื่อง - จ้างผู้เชี่ยวชาญมีจำกัด วงเงินไม่เกิน 2,000,000 บาท - จ้างจากส่วนราชการ
หน้าที่คณะกรรมการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง 1 หน้าที่คณะกรรมการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง 1.พิจารณาข้อเสนอทางเทคนิค(ผู้ที่ส่วนราชการเชิญ) 2.พิจารณาอัตราค่าจ้าง ค่าใช้จ่าย และต่อรอง 3.พิจารณารายละเอียดที่จะกำหนดในสัญญา 4.รายงานผลต่อหน.ส่วน
การดำเนินการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก คัดเลือกที่ปรึกษาให้น้อยราย (ไม่เกิน 6 ราย) และคัดเลือกรายที่ดีที่สุด จนท.พัสดุ หน.ส่วนราชการ รายงาน (ข้อ 78) วิธีการ ที่ปรึกษาจากต่างประเทศ ขอรายชื่อจากสถาบันการเงิน หรือองค์การระหว่างประเทศ ที่ปรึกษาไทย ขอรายชื่อจากศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษา กระทรวง การคลัง
หน้าที่คณะกรรมการดำเนินการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก 1 หน้าที่คณะกรรมการดำเนินการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก 1. กำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือก 2. พิจารณาข้อเสนอทางเทคนิค และจัดลำดับ 3. เปิดซองข้อเสนอรายที่มีข้อเสนอดีที่สุด ต่อรองราคา หรือ ให้ยื่นข้อเสนอทางด้านราคา และต่อรองราคา กรณีไม่ได้ผล ให้เสนอ หน.ส่วน เพื่อยกเลิกการเจรจา และเชิญรายถัดไป 4. เมื่อเจรจาได้ผล ตรวจสอบรายละเอียดสัญญา 5. เสนอผลการพิจารณาต่อ หน.ส่วน
สัญญา สัญญา หมายถึง การใด อันได้กระทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งเน้นโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลหรือนิติบุคคล ตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
การทำสัญญาตามระเบียบฯ ว่าด้วยการพัสดุ มีได้ 3 ลักษณะ ลักษณะของสัญญา การทำสัญญาตามระเบียบฯ ว่าด้วยการพัสดุ มีได้ 3 ลักษณะ 1. ทำสัญญาตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด (ข้อ 132) 2. ทำข้อตกลงเป็นหนังสือ (ข้อ 133) 3. ทำสัญญาโดยไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ (ข้อ 133 วรรคท้าย)
การทำสัญญา (ที่ต้องส่ง สนง.อัยการตรวจ) การทำสัญญา (ที่ต้องส่ง สนง.อัยการตรวจ) การกำหนดข้อความหรือรายการที่แตกต่าง จากตัวอย่างของ กวพ. การร่างสัญญาใหม่ การทำสัญญาเช่า ที่ต้องเสียเงินอื่น นอกจากค่าเช่า
หลักประกัน (ข้อ 141) เงินสด หลักประกันที่ใช้กับสัญญา เช็ค ธ หลักประกันสัญญา หลักประกันซอง เงินสด เช็ค ธ หนังสือค้ำประกัน ธ หนังสือค้ำประกัน บ พันธบัตรรัฐบาลไทย หลักประกันที่ใช้กับสัญญา หนังสือค้ำประกันธนาคาร ต่างประเทศ (กรณีประกวด ราคานานาชาติ)
เงินล่วงหน้า (68) หลัก - ไม่จ่าย เงินล่วงหน้า (68) หลัก - ไม่จ่าย ยกเว้น - จำเป็นต้องจ่าย แต่ต้องจ่ายไม่เกินกว่าอัตราที่ระเบียบกำหนด - ต้องการกำหนดเงื่อนไขไว้ก่อน การทำสัญญา หรือข้อตกลง - การแข่งขันราคาต้องกำหนดในประกาศ
Ex ส่วนราชการหารือ การจัดจ้างโดยวิธีพิเศษมิได้มีเงื่อนไขการจ่ายเงินล่วงหน้า จะกำหนดการจ่ายเงินล่วงหน้าได้หรือไม่ กวพ. วินิจฉัยว่า ต้องมีการตกลงกันล่วงหน้า / ตกลงขณะเสนอราคาก่อนการทำสัญญา - แม้มิได้ตกลงล่วงหน้า จะตกลงกันใหม่ก่อนเริ่มกระบวนการเจรจาทางด้านราคาก็ได้ (ก่อนทำสัญญา)
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา หลัก ห้ามแก้ไข เปลี่ยนแปลง ข้อยกเว้น กรณีจำเป็น ไม่ทำให้ราชการเสียประโยชน์ กรณีแก้ไขเพื่อประโยชน์ของทางราชการ อำนาจอนุมัติ หัวหน้าส่วนราชการ
หลัก การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา หลัก การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา ต้องแก้ก่อนการตรวจรับ EX ส่วนราชการหารือ แก้ไขการวางหลักประกันจากเงินสด เป็นหนังสือค้ำประกันธนาคารได้หรือไม่ กวพ. วินิจฉัยว่า - แก้หลังตรวจรับได้ กรณีมิใช่เนื้องาน / พัสดุตามสัญญา - แก้จากเงินสดเป็นหนังสือค้ำประกันธนาคาร ไม่ทำให้ราชการเสียประโยชน์
Ex ส่วนราชการหารือว่า (รชภ. จบ.) เดิมสร้างอาคาร 6 ชั้น เงินไม่พอจึงตัดทอรายการเหลือ 5 ชั้น ต่อมามีเงินเหลือจะจัดทำเพิ่มเติม จะต้องจ้างใหม่ หรือแก้ไขสัญญาเดิม กวพ.วินิจฉัยว่า เป็นการอ้างตามแบบรูปที่เคยกำหนดไว้เดิม มิใช่เรื่องทำใหม่ จึงแก้ไขสัญญาได้
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทำการตามสัญญา การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทำการตามสัญญา สาเหตุ เหตุเกิดจากความผิด ความบกพร่องของราชการ เหตุสุดวิสัย เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิด เงื่อนไข ต้องแจ้งเหตุตาม ข้อ 139 (2) (3) ภายใน 15 วัน นับแต่เหตุสิ้นสุด พิจารณาได้ตามจำนวนวันที่มีเหตุเกิดขึ้นจริง อำนาจอนุมัติ หน.ส่วนราชการ
Ex ส่วนราชการหารือว่า ย้ายเสาอากาศของทางราชการ ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ก่อสร้างใช้เวลา 1 เดือน สัญญามิได้กำหนดว่าเป็นหน้าที่ของใคร กรณีนี้ขยายเวลาได้หรือไม่ กวพ. วินิจฉัยว่า เป็นเรื่องความผิดของราชการที่ไม่สามารถส่งมอบพื้นที่ให้ได้ อยู่ในเกณฑ์ขยายเวลาตามระเบียบ
Ex ส่วนราชการหารือว่า โรงพยาบาลจัดซื้อถุงมือยาง ผู้ขายอ้างว่า โรงงานผู้ผลิตตามที่กำหนด เกิดไฟไหม้ กวพ. วินิจฉัยว่า เป็นพฤติกรรมอื่นที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิด (กรณีนี้หากพฤติการณ์เป็นพ้นวิสัยแล้ว ไม่ต้องรับผิด)
การลงโทษผู้ทิ้งงาน กรณีที่เป็นเหตุแห่งการทิ้งงาน ได้รับการคัดเลือกแล้ว ไม่ยอมไปทำสัญญาภายในกำหนด (145 ทวิ) คู่สัญญา/ผู้รับจ้างช่วงไม่ปฏิบัติตามสัญญา (145 ทวิ) ไม่รับผิดในความชำรุดบกพร่อง (145 ทวิ) ก่อสร้างสาธารณูปโภค ใช้วัสดุ บกพร่อง ไม่ได้มาตรฐาน (145 ทวิ) ออกแบบผิดพลาดเสียหายร้ายแรง (145 ตรี) ขัดขวางการเสนอราคาอย่างเป็นธรรม ((145 จัตวา)
คำสั่งลงโทษผู้ทิ้งงาน เป็นคำสั่งทางปกครอง ต้องปฏิบัติตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 การเพิกถอน ต้องปฏิบัติตามมติ คณะรัฐมนตรี 17 ตุลาคม 2504 (หนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนมาก ที่ นร. 105/2504 ลงวันที่ 18 ตุลาคม 2504) ( 2 ปี / ทุจริต / เกียรติประวัติ / รู้สำนึก )
ตรวจรับพัสดุ/จ้างทั่วไป ปฏิบัติตามข้อ 71 ตรวจตามสัญญา ตรวจให้เสร็จภายใน 5 วันทำการ นับแต่วันส่งมอบ ไม่รวมทดลอง/ทดสอบทางเทคนิคหรือทางวิทยาศาสตร์ (ที่ นร 1305/ว 5855 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2544)
ตรวจการจ้างก่อสร้าง ปฏิบัติตามข้อ 72 ตรวจตามสัญญา ปฏิบัติตามข้อ 72 ตรวจตามสัญญา ตรวจให้เสร็จภายใน 3 วัน (รายงวด) 5 วัน (งวดสุดท้าย) นับแต่ผู้ควบคุมงานรายงานประธานกรรมการ (ที่ นร 1305 / ว 5855 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2544)
The End