อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงานหลักการป้องกันและควบคุม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สิ่งแวดล้อมในฟาร์มเลี้ยงสัตว์
Advertisements

โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
วิธีการหาองค์ประกอบขยะมูลฝอย
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
Scene Design and Lighting Week1-3
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
# ความปลอดภัยในการทำงาน #
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
เรื่อง อันตรายของเสียง
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
SMS News Distribute Service
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
กองวิศวกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
บทที่ ๑ การพูดและการนำสนอเพื่องานนิเทศศาสตร์
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
II-4การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
ขดลวดพยุงสายยาง.
Supply Chain Management
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
PRIMARY CARE PRIMARY CARE Primary care.
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงานหลักการป้องกันและควบคุม วิชาอาชีวอนามัย (Occupational Health) รหัสวิชา: 4072319 ผู้สอน: อ. ธนัชพร มุลิกะบุตร (07/12/57)

เนื้อหา ความหมายสิ่งแวดล้อมในการทำงาน และอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน ประเภทของอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน หลักการและวิธีการคุมสิ่งแวดล้อมการทำงาน NPRU

1. สภาพแวดล้อมในสังคม/ชุมชน NPRU

2. สภาพแวดล้อมในสถานที่ทำงาน NPRU

3. สภาพแวดล้อมภายในบ้าน NPRU

สภาพแวดล้อมของสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ NPRU

1. สิ่งแวดล้อมในการทำงาน สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวผู้ประกอบอาชีพทั้งที่มีชีวิต และไม่มีชีวิตในสถานที่ทำงาน เช่น เครื่องมืออุปกรณ์ เครื่องอำนวยความสะดวก ต่างๆ ในการทำงาน ความร้อน ความเย็น รังสี แสง เสียง ความสั่นสะเทือน ฝุ่นละออง สารเคมี ก๊าซ และยังรวมถึงเชื้อโรคและสัตว์ต่าง ๆ บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำงาน สัมพันธภาพระหว่างเพื่อนร่วมงาน ค่าตอบแทนและชั่วโมงการทำงาน สภาพการทำงานที่ซ้ำซาก การเร่งรีบทำงาน การทำงานเป็นผลัดหมุนเวียนเรื่อยไป วิทยา อยู่สุข, 2549 แอนน์ จิระพงษ์สุวรรณ, 2556 ขวัญหทัย ยิ้มละมัย และรัตนวดี ทองบัวบาน, 2556 NPRU

อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน (Workplace Environmental Hazards) สิ่งแวดล้อมและสภาพการทำงานที่อาจส่งผลให้เกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานโดยการตอบสนองต่ออันตรายในรูปแบบต่างๆ เช่น เกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน เกิดโรคจากการทำงาน ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานลดลง วิทยา อยู่สุข, 2549 แอนน์ จิระพงษ์สุวรรณ, 2556 NPRU

2. ประเภทของอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน 1. สภาพแวดล้อมด้านกายภาพ 2. สภาพแวดล้อมด้านเคมี งาน 3. สภาพแวดล้อมด้านชีวภาพ 4. สภาพแวดล้อมด้านการยศาสตร์และจิตวิทยาสังคม โรคจากการทำงาน NPRU

รายงานประจำปี 2556. กองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน NPRU

2.1 อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Environmental Physical Hazards) อันตรายจากสภาพแวดล้อมที่อยู่ในพื้นที่การทำงาน มีโอกาสสัมผัสอันตรายเหล่านี้ได้ โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่ การมองเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น การลิ้มรส และการสัมผัสทางผิวหนัง สามารถจำแนกออกเป็น 7 กลุ่ม ดังนี้ เกียรติศักดิ์ บัตรสูงเนิน, 2554 NPRU

2.1.2 การสั่นสะเทือน (Vibration) 2.1.6 ความกดอากาศ (Pressure) 2.1.1 เสียง (Noise) 2.1.4 ความเย็น (Cold) 2.1.2 การสั่นสะเทือน (Vibration) 2.1.5 รังสี (Radiation) 2.1.7 แสงสว่าง (Lighting) 2.1.3 ความร้อน (Heat) 2.1.6 ความกดอากาศ (Pressure) NPRU

2.2 อันตรายจากสภาพแวดล้อมด้านเคมี (Environmental Chemical Hazards) อันตรายจากสภาพแวดล้อมด้านเคมี เกิดจากการนำสารเคมีมาใช้ในการทำงาน หรือสารเคมีที่เป็นอันตรายเกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตของงาน รวมทั้งวัตถุพลอยได้จากการผลิต โดยทั่วไปจะอยู่ในรูปของเหลว ของแข็ง และก๊าซ เช่น กลุ่มสารเคมีที่เป็นพิษ ก๊าซพิษ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ตัวทำละลาย กรด ด่าง ฝุ่นละอองที่ทำให้เกิดโรคปอด สารเคมีที่ก่อมะเร็ง กรมสวัสดิการคุ้มครองแรงงาน, 2540 ขวัญหทัย ยิ้มละมัย และรัตนวดี ทองบัวบาน, 2556 NPRU

2.3 อันตรายจากสภาพแวดล้อมด้านชีวภาพ (Environmental Biological Hazards) เกิดจากการทำงานที่ต้องเสี่ยงต่อการสัมผัสและได้รับอันตรายจากสารทางด้านชีวภาพ (Biohazardous agents) แล้วสารชีวภาพนั้นทำให้เกิดความผิดปกติของร่างกาย หรือมีอาการเจ็บป่วยเกิดขึ้น เช่น เชื้อจุลินทรีย์ต่างๆ ฝุ่นละอองจากส่วนของพืชหรือสัตว์ การติดเชื้อจากสัตว์หรือแมลง การถูกทำร้ายจากสัตว์หรือแมลง อาชีพที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสอันตรายทางด้านชีวภาพ ได้แก่ ผู้ปฏิบัติงานใน ห้องปฏิบัติการทางด้าน จุลชีววิทยา และชีว โมเลกุล โรงพยาบาลและ หน่วยงานด้าน สาธารณสุข สถานที่ทำงานด้าน เทคโนโลยีชีวภาพ อาชีพเกษตรกรรมและ การเลี้ยงสัตว์ พนักงานทำความสะอาด เป็นต้น วิทยา อยู่สุข, 2549 เกียรติศักดิ์ บัตรสูงเนิน, 2554 ขวัญหทัย ยิ้มละมัย และรัตนวดี ทองบัวบาน, 2556 NPRU

2.4 อันตรายจากสภาพแวดล้อมด้านการยศาสตร์และจิตวิทยาสังคม (Environmental Ergonomic and Psychosocial Hazards) ปัญหาด้านการยศาสตร์ เป็นอันตรายที่เกิดจากการใช้ท่าทางทำงานที่ไม่เหมาะสม วิธีการปฏิบัติงานที่ไม่ถูกต้อง การปฏิบัติงานที่ซ้ำซาก และความไม่สัมพันธ์กันระหว่างคนกับงานที่ทำ เช่น การปฏิบัติงานในลักษณะท่าที่ฝืนธรรมชาติ การทำงานซ้ำซากจำเจ การออกแบบสถานที่ทำงาน เครื่องมือไม่เหมาะสม การทำงานเป็นกะ การทำงานที่มีระยะเวลานาน ส่งผลให้เกิด ปัญหาจิตวิทยาสังคม คือ สิ่งแวดล้อมในการทำงานที่สามารถก่อให้เกิดสภาวะเครียด เนื่องมาจากจิตใจหรืออารมณ์ที่ได้รับความบีบคั้น ยังมีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย 4. สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางจิตวิทยาสังคม (Psychosocial health hazard) คือ สิ่งแวดล้อมในการทำงานที่สามารถก่อให้เกิดสภาวะเครียด เนื่องมาจากจิตใจหรืออารมณ์ที่ได้รับความบีบคั้น ยังมีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย ซึ่งสาเหตุมีดังต่อไปนี้ 4.1 การเกิดความรู้สึกเบื่อหน่ายต่องาน โดยทั่วไปเกิดจากความต้องการพื้นฐานไม่ได้รับการตอบสนองที่เหมาะสม เช่น ค่าจ้างที่ต่ำ ความไม่มีมนุษยสัมพันธ์ของหัวหน้าและผู้ร่วมงาน การทำงานที่ซ้ำซาก เป็นต้น 4.2 การเกิดความกดดันจากสภาพงานที่ไม่เหมาะสม เช่น การทำงานเป็นผลัดที่นอกเหนือจากเวลาปกติ เกิดความกดดันต่อกลไกของร่างกายก่อให้เกิดสุขภาพเสื่อมโทรม อาจจะทำให้เกิดโรคกระเพาะจากเวลาการรับประทานอาหารเปลี่ยนแปลง โรคหัวใจจากระบบการไหลเวียนเลือดเปลี่ยนแปลง และโรคประสาทแบบแผนการนอนเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดการอดนอน 4.3 การเกิดอุบัติเหตุจากปัญหาจิตวิทยาสังคม งานบางอย่างที่มีความซ้ำซากจำเจและเร่งรีบแข่งกับเวลาอาจจะทำให้เกิดการทำงานที่ผิดพลาดขึ้นได้ ซึ่งความผิดพลาดนี้อาจทำให้เกิดอุบัติเหตุ และคนงานบางคนอาจต้องมีภาระความรับผิดชอบต่อครอบครัวมากและรายได้ไม่พอกับรายจ่าย อาจทำให้ต้องดิ้นรนทำงานมากขึ้นโดยการทำงานนอกเวลา ร่างกายเกิดอาการอ่อนล้าทำให้เกิดอุบัติเหตุได้เช่นกัน เกียรติศักดิ์ บัตรสูงเนิน, 2554 NPRU

3. หลักการและวิธีการคุมสิ่งแวดล้อมการทำงาน 1. แหล่งกำเนิด (Sources) 2. ทางผ่าน (Path) 3. ผู้ปฏิบัติงาน (Receiver) ควบคุมสิ่งแวดล้อมจากการทำงานที่ต้นตอหรือแหล่งกำเนิดของอันตรายโดยตรง เช่น ตัวเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ แหล่งที่มีการใช้สารเคมี เป็นต้น วิธีนี้มีประสิทธิภาพมากที่สุด เลือกใช้รองลงมา โดยควบคุมที่ทางผ่านของอันตรายจาก Sources ไปสู่ Receiver เป็นมาตรการสุดท้าย เนื่องจากทำได้ยาก ได้ผลน้อยถ้าไม่ได้รับความร่วมมืออย่างจริงจัง วิทยา อยู่สุข, 2549 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,, 2549 NPRU

3. หลักการและวิธีการคุมสิ่งแวดล้อมการทำงาน 1. แหล่งกำเนิด (Sources) 2. ทางผ่าน (Path) 3. ผู้ปฏิบัติงาน (Receiver) ใช้สารเคมีหรืออุปกรณ์ ที่มีอันตราย/พิษ น้อย แทน เลือกใช้กระบวนการผลิตที่มีอันตรายน้อย ทดแทน ใช้วิธีปิดปกคลุมให้มิดชิด แยกเอากระบวนการผลิตหรือเครื่องจักรที่มีอันตรายมากไว้ต่างหาก ใช้ระบบทำ ให้เปียกชื้นแทน เพราะจะทำให้เกิดฝุ่นละอองน้อย ใช้ระบบระบายอากาศเฉพาะที่ จัดให้มีวิธีการบำรุงรักษาเครื่องจักร ปิดกั้นเส้นทางเดินของอันตราย เก็บรักษาวัสดุต่างๆให้เป็นระเบียบเรียบร้อย การเพิ่มระยะห่างระหว่าง Sources กับ Receiver การตรวจวัดสิ่งแวดล้อมการทำงาน ออกแบบระบบระบายอากาศที่ดี การฝึกอบรม สุขวิทยาส่วนบุคคล หมุนเวียนสับเปลี่ยนหน้าที่ คัดเลือกคนงานให้เหมาะกับงาน การสวมใส่อุปกรณ์ PPE การเฝ้าระวังด้านสุขภาพ วิทยา อยู่สุข, 2549 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,, 2549 NPRU

3. การควบคุมด้านผู้ปฏิบัติงาน (Receiver) ทำได้ 2 วิธี คือ วิธีการจัดการ จัดให้มีการปฐมนิเทศ ให้สุขศึกษา สับเปลี่ยนหมุนเวียนคนงาน คัดเลือกคนให้เหมาะสมกับงาน จัดหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 2. วิธีการด้านการแพทย์ ให้มีการตรวจสุขภาพ ก่อนเข้าทำงาน ประจำทุกปี พิเศษเฉพาะกลุ่ม คนที่เสี่ยงต่ออันตรายมาก (ตรวจบ่อยกว่ากลุ่มอื่น) ตรวจรักษาเมื่อผ่านการเจ็บป่วย (ฟื้นฟูสรรถภาพการทำงาน) NPRU

วิธีการควบคุมอันตรายจากสภาพแวดล้อม 1. หลักการทดแทน (Substitution) วิธีการทำความสะอาดใช้ผงซักฟอกผสมน้ำแทนพวกตัวละลายที่เป็นสารอินทรีย์ สารละลายประเภทเบนซีน (มีพิษร้ายแรง) สามารถใช้โทลูอีนแทนได้ 2. การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต (Changing the process) การใช้เครื่องขัดทรายที่มีความเร็วรอบต่ำ แทนเครื่องที่มีความเร็วรอบสูง การทาสีด้วยแปรง แทนเครื่องพ่นสี (ลดอนุภาคแขวนลอยของสีในอากาศ) ใช้การเชื่อมด้วยไฟฟ้า แทนการตอกย้ำด้วยหัวหมุด (เกิดเสียงดังมาก) 3. การแยกออกหรือใช้ระบบปิด (Isolation or Enclosure) แยกกระบวนการผลิต หรือเครื่องจักรที่มีเสียงดังออก การใช้ฉากดูดเสียงกั้น หรือทำห้องเก็บเสียงเฉพาะ แยกห้องพ่นสีจากอาคารที่มีคนทำงานมาก NPRU

วิธีการควบคุมอันตรายจากสภาพแวดล้อม (ต่อ) 4. วิธีการทำให้เปียก (Wet method) เป็นวิธีการลดฝุ่นละอองโดยเฉพาะที่มีขนาดเล็กหายใจเข้าปอดได้ การติดเครื่องพ่นน้ำฝอยในโรงงานทอผ้าที่มีฝุ่นฝ้าย การทำงานในเหมืองแร่พ่นน้ำเป็นระยะ 5. การระบายอากาศเฉพาะแห่ง (Local exhaust ventilation) เพื่อดูดจับสารพิษ ฝุ่น ไอ ควัน หรือไอน้ำจากแหล่งกำเนิด หลังจากติดตั้งระบบแล้ว ต้องตรวจสอบระบบระบายอากาศเป็นระยะ เช่น อัตราการไหลของอากาศ ความเร็วในท่อระบายอากาศ ความดันภายในท่อระบายอากาศ NPRU

วิธีการควบคุมอันตรายจากสภาพแวดล้อม (ต่อ) 6. การระบายอากาศทั่วไป/การทำให้เจือจาง (General or Dilution ventilation) หมายถึง การส่งอากาศจำนวนมากเข้าไปในที่ทำงาน เพื่อเจือจางสารพิษ สารเคมี หรือฝุ่น เหมาะสำหรับสภาพแวดล้อมที่ไม่มีพิษสูงเกินไป ทำได้โดย การระบายอากาศแบบธรรมชาติ การเปิดประตู หน้าต่าง ช่องลม การใช้ใบพัดช่วยดูดและเป่าอากาศ ติดพัดลมดูดอากาศ/หรือทำท่อระบายอากาศไว้บนหลังคา การทำหลังคาสองชั้น NPRU

วิธีการควบคุมอันตรายจากสภาพแวดล้อม (ต่อ) 7. การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment) เครื่องป้องกันตาและใบหน้า แว่นตานิรภัย โล่กันหน้า และแว่นตากันรังสีต่างๆ เครื่องป้องกันหู ป้องกันเสียงดังเกิน ได้แก่ ที่อุดหู ที่ครอบหู อุปกรณ์สวมใส่กันภัย เช่น ถุงมือ ผ้ากันเปื้อน รองเท้า NPRU

วิธีการควบคุมอันตรายจากสภาพแวดล้อม (ต่อ) 8. การจัดเก็บรักษา การทำความสะอาด (Good House Keeping) ประยุกต์ใช้ในรูปแบบกิจกรรม 5 ส. ซึ่งเป็นการรักษาความสะอาดในสถานที่ทำงาน 9. การกำจัดมูลฝอย ของเสีย หรือกากอุตสาหกรรม (Waste Disposal) NPRU

เขียนลงในกระดาษรายงาน ตามความเข้าใจ ส่งวันอาทิตย์ที่ 14 ธันวาคม 2557 การบ้าน เขียนลงในกระดาษรายงาน ตามความเข้าใจ ส่งวันอาทิตย์ที่ 14 ธันวาคม 2557 จงอธิบายหลักการทั่วไปในการควบคุมอันตรายจากการทำงาน วิธีการใดเป็นวิธีการที่ควบคุมที่ทำได้ยากที่สุดในการควบคุมอันตรายจากการทำงาน เพราะเหตุใด จงยกตัวอย่างวิธีการควบคุมอันตรายจากการทำงานด้านเคมี โดยการควบคุมที่ทางผ่าน มา 3 ข้อ จงบอกวิธีการป้องกันอันตรายจากการทำงานในห้องเย็นของผู้ปฏิบัติงาน NPRU

Thank you NPRU