ผอ.สพท. และหัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผนทั่วประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

โดย ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อมูลบุคลากร รวมทั้งสิ้น 54 คน ประเภท ชาย หญิง รวม
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
จุดเน้น สพฐ. ปี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
นโยบาย สพฐ. ปี
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
11.พัฒนาครูด้วยระบบ e-Training 10.พัฒนาระบบนิเทศแนวใหม่
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
งานฝาก... ฝากงาน รังสรรค์ มณีเล็ก รองเลขาธิการ กพฐ.
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การรายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (KRS) และตามแผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มอำนวยการ.
การยกระดับคุณภาพ กศน. ๑. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพ ๒. ยกระดับคุณภาพงานการศึกษานอกระบบแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
โรงเรียนอนุบาลควนขนุน
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ประชุมผู้บริหาร สพป.มค.3
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๒
เล่าสู่กันฟัง ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
1. ความไม่ปกติและความปกติ ความปกติความปกติ ไม่ปกติไม่ปกติ สภาพที่เป็นตามที่เคยเป็น, ทำ อยู่เป็นประจำเป็นปกติ ทำตามที่คนอื่นทำ / เป็น, ระเบียบวิธีการตามปกติ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
LOGO ประชุมประธาน กลุ่ม ประชุมประธาน กลุ่ม วันที่ 23 พ. ค
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผอ.สพท. และหัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผนทั่วประเทศ นโยบาย สพฐ. 2552 การประชุมสัมมนา ผอ.สพท. และหัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผนทั่วประเทศ 24-26 กันยายน 2551

เป้าหมายการให้บริการ สพฐ. ด้านโอกาสทางการศึกษา ประชากรในวัยเรียนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียม ทั่วถึง และได้รับโอกาสในการศึกษาปฐมวัยอย่างน้อย 1 ปี ก่อนเข้าเรียนในระดับการศึกษาภาคบังคับ

เป้าหมายการให้บริการ สพฐ. ด้านโอกาสทางการศึกษา (ต่อ) ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้เรียนในเขตพื้นที่พิเศษได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาปฐมวัยอย่างเท่าเทียมและทั่วถึงตามลักษณะของผู้เรียนแต่ละกลุ่มและประเภท ผู้เรียน ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับอัตลักษณ์ วิถีชีวิตและความต้องการของชุมชน

เป้าหมายการให้บริการ สพฐ. ด้านคุณภาพการศึกษา ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาปฐมวัย ครูผู้สอนมีเพียงพอและสามารถจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพและให้ความสำคัญกับพื้นฐานและศักยภาพของผู้เรียน

เป้าหมายการให้บริการ สพฐ. ด้านคุณภาพการศึกษา (ต่อ) สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบประกันคุณภาพภายในและผ่านการประเมินการศึกษาของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา

เป้าหมายการให้บริการ สพฐ. ด้านประสิทธิภาพทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ตลอดจนองค์คณะบุคคลตามกฏหมายมีความพร้อม และมีความเข้มแข็งที่จะปฏิบัติหน้าที่ตามหลักธรรมาภิบาลอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล โดยใช้เครือข่ายความร่วมมือทุกภาคส่วน

กลยุทธ์ ของ สพฐ. ปี 2552 ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่นักเรียนทุกคน เพิ่มอัตราการเข้าเรียนในทุกระดับ ทั้งเด็กทั่วไป ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ลดอัตราการออกกลางคัน และพัฒนารูปแบบการให้บริการการศึกษาขั้นพื้นฐานแก่เยาวชนที่อยู่นอกระบบสถานศึกษา

กลยุทธ์ ของ สพฐ. ปี 2552 (ต่อ) 3. ยกระดับคุณภาพสถานศึกษาให้เข้าสู่มาตรฐานการศึกษาชาติ พัฒนาผู้เรียน สมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็นระบบ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและปฐมวัย และการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างเต็มตามศักยภาพ

กลยุทธ์ ของ สพฐ. ปี 2552 (ต่อ) 4. เร่งรัดพัฒนาความพร้อมในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้แก่สถานศึกษาและหน่วยงานการศึกษาในสังกัดเพื่อการเรียนรู้และการบริหารจัดการ 5. สร้างความเข้มแข็งและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารและการจัดการศึกษาเพื่อรองรับการกระจายอำนาจอย่างมีประสิทธิภาพบนหลักธรรมาภิบาลในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา

กลยุทธ์ ของ สพฐ. ปี 2552 (ต่อ) 6. เร่งพัฒนาการศึกษาและคุณภาพชีวิตนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้

เป้าหมายกลยุทธ์ที่ 1 (คุณธรรม) นักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผ่านการประเมินคุณธรรมมีสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีประชาธิปไตยสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ลดจำนวนเยาวชนมีพฤติกรรมเสี่ยง

เป้าหมายกลยุทธ์ที่ 1 (คุณธรรม) ต่อ โรงเรียนคุณธรรมต้นแบบ และวิถีพุทธต้นแบบผ่านมาตรฐานและสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับโรงเรียนอื่นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 โรงเรียนทุกแห่งมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและโรงเรียนที่ระดับมัธยมศึกษาพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้มาตรฐานไม่ต่ำกว่าร้อยละ 30

มาตรการกลยุทธ์ที่ 1 (คุณธรรม) พัฒนาสื่อ และการจัดการเรียนการสอน ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมนักเรียนกลุ่มเสี่ยง จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การทำงานเป็นเครือข่ายกับสถาบันทางศาสนา ผู้ปกครอง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

เป้าหมายกลยุทธ์ที่ 2 (โอกาส) เพิ่มอัตราการเข้าเรียนภาคบังคับโดยรวมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ไม่มีตำบลใดที่มีอัตราการเข้าเรียนการศึกษาภาคบังคับต่ำกว่าร้อยละ 80 เพิ่มอัตราการเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรียนต่อมัธยมศึกษาปีที่ 4 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

เป้าหมายกลยุทธ์ที่ 2 (โอกาส) ต่อ เพิ่มจำนวนผู้เรียนที่พิการผู้ด้อยโอกาส ผู้ตกหล่น ผู้ออกกลางคันและอยู่นอกระบบโรงเรียนให้ได้รับบริการทางการศึกษาทั้งในพื้นที่ทั่วไปและพื้นที่พิเศษ ร้อยละ 80 ของประชากรวัย 4 – 6 ปี ได้รับการศึกษาปฐมวัยอย่างน้อย 1 ปี โดย ให้ความสำคัญแก่ผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ

มาตรการกลยุทธ์ที่ 2 (โอกาส) ปรับปรุงระบบข้อมูลและระบบวางแผน การรับนักเรียนที่โปร่งใส เป็นธรรม และเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ จัดตั้ง และพัฒนาโรงเรียนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในโอกาสและคุณภาพการศึกษา ปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนที่ด้อยโอกาสและผู้มีความต้องการพิเศษ

มาตรการกลยุทธ์ที่ 2 (โอกาส) ต่อ แนวทางจัดการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่ต้องเก็บค่าใช้จ่าย ส่งเสริมการจัดและมีส่วนร่วมจัดโดยบุคคล ครอบครัว สถานประกอบการ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขยายบริการทางการศึกษาสำหรับผู้เรียนที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ทางสติปัญญาและอารมณ์ เด็กและเยาวชนที่เจ็บป่วยในโรงพยาบาล การระดมทรัพยากร สื่อ สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการ

มาตรการกลยุทธ์ที่ 2 (โอกาส) ต่อ นวัตกรรมการศึกษาเพื่อเข้าถึงเด็กและเยาวชนผู้พิการ ผู้มีความต้องการพิเศษ ผู้ด้อยโอกาส และผู้อยู่ในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร ขยายเครือข่ายโรงเรียนแกนนำเรียนร่วม ส่งเสริมให้เด็กอายุช่วงปฐมวัยเข้าเรียนทั้งภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชน สนับสนุนการพัฒนาเด็กปฐมวัย และให้ความสำคัญกับกลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ

เป้าหมายกลยุทธ์ที่ 3 (คุณภาพ) สถานศึกษาร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานตามระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาผ่านเกณฑ์การประเมินการรับรองมาตรฐานของ สมศ.ในระดับดีขึ้นไปอย่างน้อยร้อยละ 80 และไม่มีสถานศึกษาใดอยู่ในระดับปรับปรุง สถานศึกษาทุกแห่งมีอัตราการขาดครูไม่เกินร้อยละ 30

เป้าหมายกลยุทธ์ที่ 3 (คุณภาพ) ต่อ สถานศึกษาที่เปิดสอนระดับ ม. ต้น และ ม.ปลาย มีครูตรงวุฒิ หรือผ่านการประเมินความรู้ความสามารถตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ สถานศึกษานำร่องมีหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาที่ได้มาตรฐานสอดคล้องกับสภาพปัญหาท้องถิ่น และสามารถจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

มาตรการกลยุทธ์ที่ 3 (คุณภาพ) กำกับ ดูแล พัฒนาสถานศึกษาที่ไม่ผ่านการรับรองมาตรฐาน และสถานศึกษาขนาดเล็กให้พัฒนาตามแผนยุทธศาสตร์ พัฒนาต่อยอดสถานศึกษาที่ได้รับรองมาตรฐานสู่ระดับดีและดีมาก ศูนย์ปฐมวัยต้นแบบ และสถานศึกษาผู้นำด้านต่างๆ เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับสถานศึกษาอื่น

มาตรการกลยุทธ์ที่ 3 (คุณภาพ) ต่อ ระบบข้อมูลและแผนยุทธศาสตร์ เพื่อบริหารและพัฒนาครู แก้ปัญหาการขาดแคลนครู ครูไม่ตรงวุฒิ และเร่งพัฒนาสมรรถนะครูทุกกลุ่มสาระอย่างครบวงจร พัฒนาการเรียนการสอนในวิชาภาษาอังกฤษ และภาษาจีน ตามแผนยุทธศาสตร์ สนับสนุนโรงเรียนนำร่องการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการขยายผลสู่สถานศึกษาทั่วไป และสถานศึกษาที่จัดการศึกษาพิเศษสำหรับผู้พิการและด้อยโอกาส

มาตรการกลยุทธ์ที่ 3 (คุณภาพ) ต่อ ปรับปรุงระบบวัดผลและประเมินผล ระบบเทียบโอนประสบการณ์ พัฒนาระบบประเมินผลสัมฤทธิ์ออนไลน์ ในสถานศึกษา และ สพท. ส่งเสริมการพัฒนาองค์ความรู้ และรูปแบบพัฒนากระบวนการคิด การจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง การส่งเสริมการอ่าน การศึกษาปฐมวัย ให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาพื้นฐานทางอาชีพและการมีงานทำ

มาตรการกลยุทธ์ที่ 3 (คุณภาพ) ต่อ จัดการศึกษาสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ พัฒนาระบบวัดแวว ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนทั้งในระบบและนอกระบบโรงเรียน พัฒนาการเรียนการสอนสำหรับเด็กพิการ และเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ให้ขยายผลได้มากขึ้น ส่งเสริมการพัฒนาเครือข่ายเพื่อส่งเสริมคุณภาพ ระบบจัดการความรู้ การจัดเวทีวิชาการสำหรับสถานศึกษา ครู และนักเรียน

เป้าหมายกลยุทธ์ที่ 4 (เทคโนโลยี) นักเรียนจบการศึกษาภาคบังคับทุกคนมีความรู้และมีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์พื้นฐานเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ นักเรียนที่จบ ม.ปลายอย่างน้อยร้อยละ 40 สามารถเขียนโปรแกรมและออกแบบเว็ปเพจได้ ครูร้อยละ 70 มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ

เป้าหมายกลยุทธ์ที่ 4 (เทคโนโลยี) สถานศึกษาร้อยละ 70 มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อการเรียนการสอนในอัตราส่วน 1 เครื่อง ต่อนักเรียน 40 คน และร้อยละ 90 มีการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง โดยร้อยละ 90 นำ ICT มาช่วยจัดกระบวนการเรียนรู้ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแห่ง มีศูนย์รวมสื่อเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนให้กับสถานศึกษาได้ทุกกลุ่มสาระ สพท. มีศูนย์เครือข่ายการซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์

มาตรการกลยุทธ์ที่ 4 (เทคโนโลยี) พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการใช้เทคโนโลยี สนับสนุนคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนและบริหารจัดการให้กับสถานศึกษาจากภาครัฐ เอกชน และท้องถิ่น ปรับเปลี่ยนระบบสื่อสาร ความเร็วอินเทอร์เน็ตในสถานศึกษาทั่วประเทศเป็น 512 Mbps และสถานศึกษาตามโครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์เป็น 2 KMbps

มาตรการกลยุทธ์ที่ 4 (เทคโนโลยี) ต่อ ระบบการศึกษาทางไกลให้กับสถานศึกษาขนาดเล็ก และสถานศึกษาห่างไกล พัฒนา Web Portal จัดทำ Visual field trip ติวเตอร์ออนไลน์ ห้องเรียนทันข่าว e-Learning ส่งเสริมศูนย์ ICT ของ สพท. จัดทำฐานข้อมูลและ Back office และศูนย์เครือข่ายการซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี

เป้าหมายกลยุทธ์ที่ 5 (ความเข้มแข็ง) ทุก สพท. สนับสนุนให้องค์คณะบุคคลตามกฎหมายมีความพร้อมและมีบทบาทในการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีเอกภาพและสอดคล้องกัน สถานศึกษาที่ไม่ผ่านการอบรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ผ่านการประเมินโรงเรียน SBM และเป็นพี่เลี้ยงโรงเรียนอื่น

เป้าหมายกลยุทธ์ที่ 5 (ความเข้มแข็ง) ต่อ ทุก สพท. มีระบบเครือข่ายเพื่อพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพระหว่างโรงเรียนประเภทต่างๆ เป็นกลไกในการจัดการความรู้ พัฒนาคุณภาพ ติดตามดูแลแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ ทุกโรงเรียนมีคณะกรรมการนักเรียนและ ผู้แทนนักเรียนประเภทต่างๆ ซึ่งได้รับการพัฒนาให้มีความพร้อมและมีบทบาทในการนำเสนอความคิดเห็น และร่วมพัฒนาโรงเรียน

เป้าหมายกลยุทธ์ที่ 5 (ความเข้มแข็ง) ต่อ ทุกหน่วยงานใน สพฐ. มีบุคลากรที่มีความรู้ ความชำนาญอย่างพอเพียง มีโครงสร้างที่เหมาะสม มีการบริหารจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาลและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สร้างความเข้มแข็งให้องค์คณะบุคคลทำงานเชิงบูรณาการให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างกันและมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนนโยบายของ สพฐ.

มาตรการกลยุทธ์ที่ 5 (ความเข้มแข็ง) ต่อ จัดทำระบบสารสนเทศรายสถานศึกษา มีข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษารายบุคคล มีข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระวิชาหลักของนักเรียนรายบุคคล มีผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาและผลการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ.

มาตรการกลยุทธ์ที่ 5 (ความเข้มแข็ง) ต่อ สนับสนุนกิจกรรมวิถีประชาธิปไตย บำเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคม และเสริมสร้างคุณธรรม ความรักชาติของคณะกรรมการนักเรียน และผู้แทนนักเรียนประเภท เครือข่ายผู้ปกครอง องค์กรนักเรียนมีส่วนร่วมในการสนับสนุน และส่งเสริมกิจการสถานศึกษาตามขอบข่าย

เป้าหมายกลยุทธ์ที่ 6 (ภาคใต้) นักเรียนมีอัตราการเข้าเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและปฐมวัยเพิ่มขึ้น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีร้อยละของการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาเพิ่มขึ้น ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาและมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

มาตรการกลยุทธ์ที่ 6 (ภาคใต้) สนับสนุนให้มีการจัดการศึกษาระดับอนุบาล 3 ขวบ ตามความต้องการของชุมชน สนับสนุนให้นักเรียนในวัยเรียนได้เข้าเรียนในสถานศึกษาที่สอนสายสามัญจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน สนับสนุนนักเรียนที่เรียนดี ความประพฤติดีได้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในสถานศึกษามีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับ

มาตรการกลยุทธ์ที่ 6 (ภาคใต้) ต่อ สนับสนุนทุนการศึกษาสำหรับนักเรียนที่มีผลการเรียนดี ประพฤติดี และผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ไม่สงบ เร่งพัฒนาคุณภาพนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาให้มีความพร้อมที่จะเข้าเรียนต่อระดับอุดมศึกษา พัฒนาคุณภาพทางวิชาการแก่ครูผู้สอนในระดับมัธยมศึกษาทุกกลุ่มสาระ เสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินแก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา

มาตรการกลยุทธ์ที่ 6 (ภาคใต้) ต่อ สนับสนุนสวัสดิการและสวัสดิภาพให้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่ เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน สนับสนุนให้สถานศึกษาพัฒนาและใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมและความต้องการของชุมชน

รู้ชัด ทำได้ ท้าผลสำเร็จ