ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
Advertisements

ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
สรุปผลการนำเสนอแผนงานโครงการ ของ คปสอ. ปีงบประมาณ 2557.
การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอหนองโดน
Report การแข่งขัน.
โครงการสำคัญ ปี 2556 สำนักส่งเสริมสุขภาพ
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที 6
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ.
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
คัดกรองพัฒนาการเด็ก คปสอ.หนองใหญ่
นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
การตรวจราชการติดตามและประเมินผล : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ตำบลจัดการสุขภาพ.
การคัดกรองพัฒนาการเด็ก เครือข่ายอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
การใช้คู่มือประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญา เด็กอายุ 2-15 ปี
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
เพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ นโยบาย พรบ 08/04/62
รายงานการประเมินตนเอง
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน งานวิชาการและนวัตกรรม กรมอนามัยปี ๒๕๖๑
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
Performance Agreement : PA ปี 2560
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
การบริหารและขับเคลื่อน
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2562
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT)
PA Mother & Child Health
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย

หน่วยงานที่รับผิดชอบ จำนวนตัวชี้วัด ระดับกระทรวง 9 ตัวชี้วัด ระดับเขต 16 ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด 18 ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมสนับสนุนฯ

ยุทธศาสตร์พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัย ปี 58 โครงสร้างตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัย ปี 58 ตัวชี้วัดประเทศ สภาวะสุขภาพประชาชน การบริหารองค์กรเครื่องมือที่ใช้Monitor จว. ตัวชี้วัดเขตสุขภาพ ความเข้มแข็งของหน่วยปฏิบัติการ ตัวชี้วัดระดับจังหวัด

กลุ่มสตรีและเด็ก 0-5 ปี

ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ: แม่และเด็ก ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ: แม่และเด็ก ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) เขตสุขภาพ (การบริหารระบบ) จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) มารดาตาย - MCH Boardเข้มแข็ง - ANC<12wks พัฒนาการเด็ก 0-5ปี สมวัย - ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ - Breast Feeding - Screening

อัตราส่วนการตายมารดา <15 ต่อ การเกิด มีชีพแสนคน สถานการณ์ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต 15.23 16 ลดลงจากปี 56 แต่สูงกว่าอัตราเฉลี่ยของ ประเทศ ปี 54 = 4.7 ปี 55 = 4.7 ปี 56 = 27.3 ข้อเท็จจริง จากการวิเคราะห์ข้อมูล ก 1 / รายงานจังหวัด 3 ปี (2555-2557) จำนวน 33 ราย - ร้อยละ 90.9 แม่เสียชีวิตในสถานบริการ (30 ราย) ประกอบด้วย - ตายหลังคลอด ร้อยละ 73.33 - ตายจาก Criminal Abortion ร้อยละ 10 - ตายจาก Abortion ร้อยละ 3.33 - ตายขณะคลอด ร้อยละ 3.33 - จำนวน รพท./ รพศ.ผ่าน HA ด้านแม่และเด็ก ร้อยละ.......

อัตราเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 85 สถานการณ์ปี 2557 เขต11 ประเทศ แนวโน้มเขต 98.86 64.5 64 93.28 72.5 เพิ่มขึ้น ( ใช้แบบอนามัย 55) ลดลง (ใช้ Denver II) ใช้แบบอนามัย 55 ข้อเท็จจริง ข้อมูลรายงาน เป็น self report จาก สถานบริการ / WCC – ข้อมูลสำรวจใช้บุคลากร 1 คน ต่อ การคัดกรองเด็ก 10 ราย ใช้ระยะเวลา 3 ชั่วโมง

MCH Board ระดับจังหวัดมีกลไกในการเฝ้าระวัง และแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก สถานการณ์ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต 100 คงที่ ข้อเท็จจริง มีทุกจังหวัด จากรายงานผลการนิเทศตามรอบปกติ ระดับจังหวัด

ศูนย์เด็กคุณภาพ ร้อยละ 60 สถานการณ์ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต 71.45 57 เพิ่มขึ้น ข้อเท็จจริง ข้อมูลรายงานผล ประเมินรับรองมาตรฐานโดยอำเภอ/จังหวัด -ใช้มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพฉบับบูรณาการกรมอนามัย / กรมควบคุมโรค ปี 2557 -เป็นศูนย์เด็กเล็กสังกัด ทบ. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80.46 -เป็นศูนย์เด็กเล็กสังกัด อบต. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 69.40 -เป็นศูนย์เด็กเล็กสังกัดอื่นๆ (รร./มัสยิด/เอกชน) ร้อยละ 50

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา แม่ตายและพัฒนาการเด็ก (0-5 ปี) ด้านบริหารจัดการ ด้านคุณภาพบริการ ด้านความตระหนักของประชาชน บทบาท และ ความเข้มแข็งของ MCH. Board -มฐ. การส่งต่อ / การคลอด /การดูแลหลังคลอด -มฐ. การคัดกรอง (ANC /WCC) มาตรฐานบริการ -พฤติกรรมผู้ให้บริการ การฝากครรภ์เร็ว การฝากครรภ์ครบ การใช้คู่มือ รับวัคซีนครบ กินนมแม่ครบ 6 เดือน ความเข้มแข็งของอสม. /อปท.

ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ : แม่และเด็ก ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ : แม่และเด็ก ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) เขตสุขภาพ (การบริหารระบบ) จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) มารดาตาย - MCH Boardเข้มแข็ง - ANC<12wks ?? พัฒนาการเด็ก 0-5 ปี สมวัย - ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ Breast Feeding Screening ระบบข้อมูล ระบบ M&E - KM / สื่อสาร - DHS ด้านแม่และเด็ก - มฐ.บริการ:PCA/CPG - อสม.เข้มแข็ง - อปท.เข้มแข็ง (ตบ.จัดการสุขภาพฯ)

วัยเรียน 5-14 ปี

ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ : วัยเรียน จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) เขตสุขภาพ (การบริหารระบบ) จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) เด็กอ้วน - เข้าร่วม HPS - คุณภาพบริการภาพรวม จังหวัด -คัดกรอง /แก้ไข ช่องปาก ,หู/ตา -เด็กรูปร่างสมส่วน ตายจากจมน้ำ IQ/ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา Board พัฒนาเด็กวัยเรียน คัดกรอง/แก้ไข

เด็กนักเรียนเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกิน ร้อยละ10 สถานการณ์ปี 2557 เขต11 ประเทศ แนวโน้มเขต 10.3 12 เพิ่มขึ้น ข้อเท็จจริง เป็นข้อมูลรายงานจากการชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงของครู ประถมฯ –ใช้เกณฑ์มาตรฐานภาวะ การเจริญเติบโต กรมอนามัยปี 2544 –ข้อมูลการสำรวจโดยกรมอนามัย ปี 2557 เด็กอ้วน ร้อยละ 17 เด็กทีมีส่วนสูงระดับดี และรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 61.3

เด็กนักเรียน 6-12 ปี มีคะแนนระดับสติปัญญา(IQ) > 100 จุด สถานการณ์ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต 96.85 98.59 ลดลง ข้อเท็จจริง -สำรวจนักเรียนประถมโดยกรมสุขภาพจิต ปี2555 (5 ปี/ครั้ง) กระทรวงศึกษาธิการ มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา - สถานศึกษามีแบบคัดกรองภาวะ การเรียนรู้บกพร่อง (LD/MR/Autism/ADHD)

อัตราเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กต่ำกว่า15 ปี < 6.5 ต่อ แสน ปชก. อัตราเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กต่ำกว่า15 ปี < 6.5 ต่อ แสน ปชก. สถานการณ์ปี 2557 เขต11 ประเทศ แนวโน้มเขต 7.26 ข้อเท็จจริง - เป็นข้อมูลจากฐานข้อมูลการตายทะเบียนราษฎร์ ปี 2556 ปี 2555 อัตรา 8.4 ต่อ แสนประชากร

โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 95 สถานการณ์ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต 100 90 คงที่ ข้อเท็จจริง - เป็นโรงเรียนทุกสังกัด ประถม และ มัธยม - โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ร้อยละ73.4 (ประเมินโดย ทีมระดับอำเภอ/จังหวัด ) –โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ร้อยละ 1.49 (ประเมินโดยศูนย์อนามัยที่11)

โรงเรียนที่ดำเนินกิจกรรมผ่าน KPIระดับจังหวัดทุกด้านร้อยละ 40 สถานการณ์ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต ข้อเท็จจริง KPI ระดับจังหวัด ได้แก่ เด็กได้รับการประเมิน/แก้ไขภาวะโภชนาการ เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 70 ( Based line เขต 11 ร้อยละ 81.22 ) เด็กในถิ่นทุรกันดารมีโรคหนอนพยาธิ < ร้อยละ 8 (เขต11 มี รร.ทุรกันดาร 17 แห่ง /5 จว.) นร.ป.1ทุกคนได้รับการตรวจสายตาและการได้ยินโดย ร้อยละ80 ของเด็กที่มีปัญหาได้รับการช่วยเหลือแก้ไข

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา อ้วนในเด็ก 5-14 ปี ด้านอำนวยการ ด้านคุณภาพบริการ ด้านความตระหนักของประชาชน ไม่มี Boardระดับเขต -มฐ. การคัดกรอง- มฐ.การแก้ไขปัญหา การเข้าถึงบริการ - ความรู้/เครื่องมือ/พฤติกรรมผู้ให้บริการ การคัดกรองสุขภาพของนักเรียน โดย ผู้ปกครอง /ครู ความเข้มแข็งของ สพป. ความเข้มแข็งของอปท.

ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ : วัยเรียน จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) เขตสุขภาพ (การบริหารระบบ) จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) เด็กอ้วน เข้าร่วม HPS คุณภาพบริการภาพรวม จังหวัด -คัดกรอง /แก้ไข ช่องปาก ,หู/ตา -เด็กรูปร่างสมส่วน ตายจากจมน้ำ Board วัยเรียนเขต/สพป. ข้อมูล / ระบบ M&E KM / สื่อสาร - DHS ด้านเด็กวัยเรียน มฐ.บริการ: PCA/CPG อปท.เข้มแข็ง/ตำบล.จัดการสุขภาพ

วัยรุ่น 15-21ปี

ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ : วัยรุ่น จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) เขตสุขภาพ (การบริหารระบบ) จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) แม่วัยใส ตั้งครรภ์ซ้ำ พฤติกรรมใช้ถุงยาง รร.สอนเพศศึกษา ความชุกดื่มแอลกอฮอล์ พฤติกรรมสูบบุหรี่ สถานศึกษาเข้มแข็ง/กฎหมาย

อัตราการคลอดมีชีพในหญิง15-19ปี ไม่เกิน 50 ต่อ ปชก.หญิง15-19 ปี พันคน สถานการณ์ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต 55.2 51.2 ลดลง ข้อเท็จจริง -เป็นข้อมูลรายงานการคลอดมีชีพจากสถานบริการสาธารณสุขปี 2556 - ข้อมูลรายงานการเฝ้าระวังการแท้งในประเทศ ปี 2556 โดยกรมอนามัย : - ร้อยละ 40.6 มีสถานภาพนักเรียน/นักศึกษา ร้อยละ29 มีอายุต่ำกว่า 20 ปี ร้อยละ 60.5 อายุต่ำกว่า 25 ปี ร้อยละ 5.4 เป็นผู้ทำแท้งซ้ำที่มีอายุ 15-19 ปี

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา สุขภาพวัยรุ่น ด้านอำนวยการ ด้านคุณภาพบริการ ด้านความตระหนักของประชาชน บทบาท Board วัยรุ่น (สธ /พม / มท./อปท./ ศษ.) การเข้าถึงบริการดูแลช่วยเหลือ -มาตรการ /การใช้กฎหมาย ความรู้/วิธีการพฤติกรรมผู้ให้บริการ - Safe sex - เคารพกฎหมาย ความเข้มแข็งของการศึกษา / มหาดไทย สถานประกอบการ

ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ : วัยรุ่น ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) เขตสุขภาพ (การบริหารระบบ) จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) แม่วัยใส ตั้งครรภ์ซ้ำ พฤติกรรมใช้ถุงยาง รร.สอนเพศศึกษา ความชุกดื่มแอลกอฮอล์ พฤติกรรมสูบบุหรี่ สถานศึกษาเข้มแข็ง/กฎหมาย Boardวัยรุ่น/พม./ศษ/มท. ข้อมูล / ระบบ M&E KM / สื่อสาร DHS ด้านเด็กวัยรุ่น มฐ.บริการ: PCA/CPG อปท.เข้มแข็ง/ตำบล.จัดการสุขภาพ

วัยทำงาน 15-59ปี

ผู้สูงอายุ /กลุ่มคนพิการ

ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ : วัยสูงอายุ จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) เขตสุขภาพ (การบริหารระบบ) จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) พฤติกรรมที่พึงประสงค์ -ตำบล LTC /DHS -การบูรณาการระบบดูแล ผู้ป่วยStroke /พิการ ของเขต สภาพแวดล้อมของสถานบริการ - คนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น -การคัดกรอง กาย/ใจ -ระบบบริการครบวงจรของ สถานบริการ -ผู้พิการขาขาดได้รับการดูแล

ร้อยละ ของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 30 สถานการณ์ปี 2557 เขต11 ประเทศ แนวโน้มเขต 26 ข้อเท็จจริง - เป็นรายงานสำรวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทยปี2556โดยกรมอนามัย, สปสช.,HITAP :- ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการระบบสุขภาพ ร้อยละ 56.7 ต้องการความช่วยเหลือในการทำกิจวัตรประจำวัน ร้อยละ 15.5 -ข้อมูลรายงานการประเมินผลแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่2 พ.ศ.2552 :- ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 18.8

ร้อยละของระบบสุขภาพระดับอำเภอ ที่มีระบบดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ด้านสุขภาพ สถานการณ์ ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต 22.06 27 เพิ่มขึ้น ข้อเท็จจริง - เป็นข้อมูลรายงานการประเมินรับรองตำบล LTC โดยจังหวัด ปี2557 - ใช้เกณฑ์มาตรฐานตำบล LTC กรมอนามัย ปี 2557

ร้อยละ 80 ของจังหวัดในเขตบริการสุขภาพมีการดำเนินงาน ในการบูรณาการระบบดูแลสุขภาพคนพิการทางการเคลื่อนไหว/ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พ้นระยะวิกฤตผ่านเกณฑ์ระดับ3 สถานการณ์ ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต ข้อเท็จจริง สำรวจโดยกรมการแพทย์

ร้อยละของสถานบริการมีการปรับสภาพแวดล้อม มีสิ่งอำนวยความสะดวกให้คนพิการ / ผู้สูงอายุเข้าถึง และใช้ประโยชน์ได้ สถานการณ์ ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต ข้อเท็จจริง - จะสำรวจโดยกรมการแพทย์

คนพิการทุกประเภทมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สถานการณ์ ปี 2557 เขต 11 ประเทศ แนวโน้มเขต ข้อเท็จจริง - จะสำรวจโดยกรมการแพทย์

ความเชื่อมโยงตัวชี้วัด 3 ระดับ : วัยสูงอายุ ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) ประเทศ (สภาวะสุขภาพ) เขตสุขภาพ (การบริหารระบบ) จังหวัด (ปฏิบัติการคุณภาพ) พฤติกรรมที่พึงประสงค์ คนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น -ตำบล LTC /DHS -การบูรณาการระบบดูแล ผู้ป่วย Stroke / พิการของเขต - สภาพแวดล้อมของสถานบริการ -การคัดกรอง กาย/ใจ -ระบบบริการครบวงจรของสถานบริการ -ผู้พิการขาขาดได้รับการดูแล Board ผสอ. /สภา ผสอ. ข้อมูล / ระบบ M&E KM / สื่อสาร มฐ.บริการ: PCA/CPG อปท.เข้มแข็ง/ตำบลจัดการ

แผนเร่งรัด ปี2558 กลุ่มวัย กิจกรรม แม่และเด็ก - การพัฒนามาตรฐานการดูแลหญิงตั้งครรภ์ - การติดตามประเมินการใช้ DSPM - การเร่งรัด รพสต.สายใยรัก ฯ ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักฯ วัยเรียน - การจัดตั้งกรรมการเขต - การพัฒนาทีมประเมินรับรองมาตรฐานระดับจังหวัด - การติดตามประเมินระบบบริการดูแลช่วยเหลือภาวะบกพร่องการเรียนรู้ในเด็ก ป.1 วัยรุ่น - บทบาท กรรมการเขต

ความคาดหวังของ เครือข่าย ที่ 11 เด็กทุกคนได้รับการ เฝ้าระวัง และส่งเสริมพัฒนาการอย่างครอบคลุมและต่อเนื่อง ค้นหาเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าให้ได้มากที่สุด เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ได้รับการช่วยเหลือ อย่างทันท่วงที และมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครอง & อสม.มีส่วนร่วม จนท.สธ. แนะนำ และประเมิน คัดกรอง เมื่อเด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน

ROAD MAP การดำเนินงาน “DSPM” กิจกรรม เป้าหมาย ระยะเวลา พัฒนาศักยภาพ จนท. ทุกระดับ 7 จังหวัด ปี 2557 อบรม อสม. โดย รพสต. 74 อำเภอ 2557 สนับสนุน คู่มือ สำหรับผู้ปกครอง 500,000 เล่ม เริ่ม สค. 2557 พื้นที่ ดำเนินการตามขั้นตอน ทุก รพ.,รพสต เริ่ม สค.2557 ติดตามผลการดำเนินงานครั้งที่ 1 พย.57 ประชุม กรรมการพัฒนาการเด็ก ระดับเขต ธค.57 ประเมินผล การใช้ เครื่องมือ “DSPM” มค.-กพ 58 วิเคราะห์สรุปผล มีค.58

โครงการพัฒนาระบบบริการเชิงรุกคัดกรองเด็กวัยเรียน ที่มีภาวะบกพร่องทางด้านการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ เพื่อค้นหาเด็กวัยเรียนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะบกพร่องทางด้านการเรียนรู้ในเขต11 เพื่อพัฒนาคุณภาพระบบบริการและส่งต่อของสถานบริการ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษามีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็ง กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ป.1 เทอม2 ทุกคนทุกสังกัดโรงเรียน

ROAD MAP การดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบบริการเชิงรุกคัดกรองเด็กวัยเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางด้านการเรียนรู้ กิจกรรมดำเนินงาน เป้าหมาย ระยะเวลา 1.ประสานความร่วมมือ ผู้บริหาร. สพป. 13 เขต 16ต.ค. 57 2.ประชุมพัฒนา ครู ก. รพช. รพท.รพศ./100 24ต.ค. 57 3. ประชุมพัฒนาครู ข. ครู / จนส. /2300 คน พ.ย.57 4. สนับสนุนแบบคัดกรอง 60,000 ชุด 5. สนับสนุนค่าบริการ ครู 20 บาท /คน 60,000 คน พ.ย.–ธ.ค. 57 6. ประชุมพัฒนาระบบส่งต่อ กุมารแพทย์/จิตเวชเด็ก พ.ย. 57 7. ติดตามประเมิน 74 อำเภอ ม.ค.-ก.พ.58 8. พัฒนาระบบฐานข้อมูลบริการ ต.ค.57-ก.พ.58 9.วิเคราะห์สรุปผล มี.ค.58

โครงการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ เป้าหมาย ผู้สูงอายุทุกคน คัดกรองตามโปรแกรมการเฝ้าระวัง การดำเนินงาน จัดทำฐานข้อมูลผู้สูงอายุทุกคน ดำเนินการตามแผน สรุปผล คืนกลับข้อมูล

ขอบคุณ ที่ตั้งใจนำไปใช้