มารยาทของศาสนาอิสลาม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นิยามแห่งการลืมเลือน
Advertisements

จดหมายกิจธุระ.
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
นางสาวเบญญาสิริ แก้วเบี่ยง
เรื่อง นกกากับเหยือกน้ำ
หนังสือบุตรสิรา บทที่ 3 ข้อ “ความถ่อมตน” ความถ่อมตน.
จงเพียงชมดูเท่านั้น.
พิธีกรรมต่างๆ พิธีกรรม =แบบอย่างในการกระทำหรือวิธีปฏิบัติ
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
การอภิปรายวาระการประชุม
ปลา กับ นกกระยาง.
พระวาจา ทรงชีวิต ตุลาคม 2007.
พระธรรมล้ำลึกแห่งความปีติยินดี
ศาสนาชินโต (ชินเต๋า) กามิ มิชิ
พระวาจาทรงชีวิต เมษายน 2011.
พระวาจาทรง ชีวิต กันยายน 2013.
ผู้คนรอบตัวคุณ เรื่องจริง ..
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
ชื่อโครงงาน “หนังสือทำมือ”
โครงงาน ศาสนพิธี.
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
สรุปวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society) ดร
ข้อปฏิบัติในการใช้ห้องเรียนคอมพิวเตอร์
แง่คิดเกี่ยวกับชีวิต
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
การพัฒนาบุคลิกภาพ ทองสุข มันตาทร.
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
เขียนบทความวิจัยส่งอย่างไร
กำแพงของหัวใจ.
คำแนะนำในการตอบข้อสอบ
ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกคน
Cosplay restaurant Collection lesson 2
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ระบบความเชื่อ.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เรื่อง การถือศิลอด. ยินดีต้อนรับสู่บทเรียน Multipoint วิชา อิสลามศึกษา นายอิสมะแอ มอนอง โรงเรียนบ้านนาค้อใต้ สพป.ปน.2.
友情 มิตรภาพ Dec 2011.
Asking for Permission / Requesting Permission
พระวาจา ทรง ชีวิต กันยายน 2009.
แล้ว...ถังรั่วใบใหญ่ให้อะไรกับเรา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง สมบัติของผู้ดี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 วิมล งามสงวน โรงเรียนวัดไผ่หลงราษฎร์เจริญ (ศูนย์เรียนรวมโรงเรียนขนาดเล็กในตำบลวังน้ำคู้)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
หลักฐานประวัติศาสตร์สุราษฎร์ธานี
วิชา มารยาทและการสมาคม
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
การเลือกซื้อสินค้า.
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
แนวคิดและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน นางพัทธนันท์
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ข้อมูล
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
พระวาจาทรง ชีวิต ตุลาคม 2014.
Story board.
ผู้บริหารพบ นักเรียน. การปฏิบัติตัวสำหรับ นักเรียน เพื่อเตรียมการ ประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา ประจำปี การศึกษา ๒๕๕๖.
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
เล่นรอบกองไฟ มาซิมามาเล่นรอบกองไฟ มาตีกลองร้องรำกันไป จับมือกันเป็นสัญญาทางใจ สนุกอย่างไรมันก็เรื่องของเรา เต้นกันเป็นหรือเปล่า (ซ้ำ) เต้นแล้วสบายใจ (ซ้ำ)
สุนัขจิ้งจอกกับนกกระสา
นางสาวพรพรรณ แก้วเรือง เลขที่ 24 นางสาวศุทธินี ใยบัว เลขที่ 33
นิทาน แม่กบกับวัว โดย เด็กชาย บัญชา กาวิละ ม.1/3 เลขที่ 37.
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระที่ควรปรับปรุงเร่งด่วนของเขตพื้นที่การศึกษา ชั้น ม.3.
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
เกณฑ์การตัดสินทางจริยธรรม
จัดทำโดย นายวิทวัสชัย คำยะ นายธนวัฒน์ น้อยมหาพรม
ความเสมอภาคทางเพศ.
วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มารยาทของศาสนาอิสลาม มารยาท “ อิสลาม” มารยาทของศาสนาอิสลาม

จัดทำโดย นางสาวกรรณิการ์ อาระวิล ชั้น ม.6/4 เลขที่ 24 นางสาวกรรณิการ์ อาระวิล ชั้น ม.6/4 เลขที่ 24 ผลงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์วิทยาคม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551

การตอบรับงานเชิญ           เมื่อพี่น้องมุสลิม ได้มีหนังสือเชิญหรือเชิญด้วยวาจาในงานต่างๆ อันดับแรกของความเป็นพี่น้องกัน ก็คือต้องตอบรับคำเชิญ เป็นการรักษาไว้ซึ่งความต้องการของพี่น้อง ซึ่งงานนั้นต้องไม่มีสิ่งผิดหลักการศาสนาหรือไม่มีข้อขัดข้องที่ไม่อาจไปร่วมงานได้           งานที่มักจะมีการจัดกันเท่าที่กอฎีอิยาฏ และอิหม่ามนะวะวีได้แถลงไว้ที่สำคัญมี 8 งานคือ  งานคอตั่น (เข้าสุนัต)  งานอะกีเกาะห์ (อาจมีการโกนผมไฟด้วย)  งานที่หญิงปลอดภัยจากการคลอดบุตร  งานเกี่ยวกับคนตาย  งานธรรมดาที่ไม่มีเหตุใดๆ  และงานพิธีนิกาห์ (มงคลสมรส) งานทั้งหมดดังกล่าวนั้นท่านหะซัน อัยยูบ ได้กล่าวว่า " เป็นงานที่ถูกกำหนดโดยศาสนา (อัซรู๊อ์) ไม่มีงานใดที่จำเป็นต้องกระทำและต้องรับเชิญ ยกเว้นงานพิธีนิกาห์ ตามทัศนะของนักวิชาการบางคน

มารยาทการรับประทานอาหาร           อิสลามคือวิถีชีวิต เมื่อมนุษย์มีธรรมชาติที่ต้องกิน ต้องนอน ต้องทำงาน ต้องมีสังคม อิสลามก็ต้องมีระบบดังกล่าวเพื่อมนุษย์จะได้มีแนวทางในการดำเนินชีวิตอย่างครบถ้วน และผู้ที่จะเป็นแบบอย่างในวิถีชีวิตได้ดีที่สุดคือท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ.ล.) ดังนั้น ขอนำเสนอมารยาทการรับประทานอาหารจากต้นแบบคือท่านศาสดาฯ ดังต่อไปนี้

กล่าวบิสมิลลาห์ฯ พระนางอาอิซะห์ รอฎิยั้ลลอฮุอันฮา รายงานหะดีษท่านท่านศาสดา (ซ.ล.) กล่าว มีความว่า           "เมื่อคนหนึ่งในพวกเจ้ารับประทานอาหาร เขาจงกล่าว "บิสมิลลห์ ฯ " หากเขาลืมกล่าว (ในตอนเริ่มรับประทาน) ให้เขากล่าว (ขณะรับประทาน) ว่า "บิสมิลลาฮิ อะลาเอาวะลิฮี วะอาคิริฮี"

รับประทานด้วยมือขวา สาวกญาบิรฯ รายงานคำสอนจากท่านศาสดาฯ ความว่า "ท่านทั้งหลายอย่ารับประทานด้วยมือซ้าย เพราะซัยฏอนนั้น มันกินด้วยมือซ้าย" บันทึกโดยมุสิลม           และในบันทึกของมุสลิมรายงานว่า "มีชายคนหนึ่งรับประทานอาหารด้วยมือซ้ายต่อหน้าท่านศาสดาฯ ท่านจึงกล่าวว่า "เจ้าจงรับประทานด้วยมือขวาของเจ้า ชายคนนั้นตอบว่า ฉันไม่อาจทำได้ ท่านจึงกล่าวว่า ไม่ใช่เจ้าจะทำไม่ได้ ไม่มีสิ่งใดห้ามเจ้าดอก นอกจากจะอวดใหญ่เท่านั้น แล้วต่อมาในที่สุดชายคนนั้นไม่อาจยกมือถึงปากได้เลย" (เพราะอัลเลาะฮ์ทรงให้มือเขาเป็นอัมพาต)

มารยาทและสุนัตการดื่ม สำหรับการดื่ม ก็มีมารยาทและสุนัตที่ท่านศาสดาฯ ได้กำหนดไว้แก่ประชากรของท่าน เพื่อยึดถือปฏิบัติ ซึ่งจะส่งผลดีทั้งด้านศาสนาและสุขภาพของผู้ปฏิบัติ อีกทั้งสังคมก็ยอมรับว่าเป็นสิ่งที่พึงปฏิบัติ บรรดามารยาทและสุนัตนั้นสรุปเป็นข้อได้ดังนี้

ดื่มด้วยมือขวา มีรายงานหะดีษจากอิบนิอุมัรฯ ท่านศาสดาสอนไว้ความว่า " ไม่ว่าคนใดในพวกท่านต้องไม่รับประทานด้วยมือซ้ายและต้องไม่ดื่มด้วยมือซ้าย เพราะซัยฏอนนั้นมันจะกินและดื่มด้วยมือซ้าย" บันทึกหะดีษโดยมุสลิมอะบูดาวูดและติรมิซี  รายละเอียดเรื่องนี้ ได้กล่าวมาแล้วในเรื่องรับประทานอาหาร

นั่งดื่ม การนั่งดื่มขณะนั่ง  มีความสะดวก และสบายถูกสุขลักษณะ ทั้งเป็นลักษณะที่สุภาพเรียบร้อยในสายตาของสังคม มีหะดีษจำนวนมากที่เคร่งครัดในเรื่องนี้ บางรายงานพูดถึงกับว่า " เมื่อดื่มขณะยืนต้องทำให้อาเจียนออกมา" แต่ก็มีหะดีษบางบทรายงานว่าท่านศาสดาฯ ดื่มน้ำขณะยืน รวมทั้งบรรดาสาวกก็ด้วย ซึ่งในการพิจารณาทางวิชาการแล้วเห็นว่า ที่ดีควรรวมหะดีษทั้งสองกลุ่ม โดยกล่าวว่า สุนัตให้นั่งดื่ม ส่วนการยืนดื่มนั้นอนุญาตให้กระทำได้แต่ถือเป็นมักรู๊ห์ ทั้งนี้หากไม่มีข้อจำเป็น ประเด็นนี้ ท่านเซากานีย์ได้อธิบายรายละเอียดไว้แล้วในหนังสือของท่านชื่อ "นัยลุ้ลเอาต๊อร"