ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
Advertisements

ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 การสนับสนุนและพัฒนา การสนับสนุนและพัฒนา ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 สุณี วงศ์คงคาเทพ สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย

งบสนับสนุนและพัฒนาระบบบริการทันตกรรม 60 ล้าน งบสนับสนุนและพัฒนาระบบบริการทันตกรรม 60 ล้าน การสนับสนุนและพัฒนา ระบบบริการสุขภาพช่องปาก สนับสนุนระบบการบริหารจัดการ (ระดับประเทศ เขต จังหวัด) เพื่อให้เกิดการดำเนินงานทันตสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ 2 สนับสนุนการพัฒนาระบบบริการทันตกรรม เพื่อให้เกิดแนวทาง/นวัตกรรมในการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น โครงการนำร่องในการจัดบริการทันตกรรม โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1

งบสนับสนุนและพัฒนาระบบบริการทันตกรรม การสนับสนุนและพัฒนา ระบบบริการสุขภาพช่องปาก สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพ/ การผลิต /กระจายทันตบุคลากร เช่น การกระจายทันตาภิบาลเข้าสู่หน่วยบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล การพัฒนาศักยภาพบุคลากรอื่นๆ ให้มีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมาย 4. สนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูลทันตสาธารณสุข 5. จัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพช่องปากระดับชาติ 2

ระบบบริการสุขภาพช่องปาก การสนับสนุนและพัฒนา 1. สนับสนุนระบบการบริหารจัดการส่วนกลาง ระบบบริการสุขภาพช่องปาก จัดระบบนิเทศสนับสนุนวิชาการระดับจังหวัด เพื่อติดตามระบบบริหารจัดการการดำเนินการกองทุน ทันตกรรม พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการ การจัดทำแผน การนิเทศติดตาม และกำกับกองทุนทันตกรรมให้แก่ทันตบุคลากรระดับจังหวัด 3

ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 2.พัฒนานวัตกรรมการสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพช่องปาก การสนับสนุนและพัฒนา ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 2.1 พัฒนาจังหวัดนำร่องในการจัดบริการสุขภาพช่องปากในรพ.สต. ที่ประสานความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 12 จังหวัด (รพ.สต.ที่มีทันตาภิบาลให้จัดทำโครงการ PP ทันตฯในกลุ่มศูนย์เด็กเล็กและชมรมผู้สูงอายุ) 4

ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 2.พัฒนานวัตกรรมการสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพช่องปาก การสนับสนุนและพัฒนา ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 2.2 พัฒนาจังหวัดนำร่องการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงบูรณาการในหน่วยบริการปฐมภูมิ 10 จังหวัดเพื่อแก้ปัญหาฟันผุ โภชนาการและพัฒนาการสมวัย 1) การตรวจคัดกรองและให้ความรู้สุขภาพช่องปากที่เหมาะสม 2) การพัฒนาระบบเฝ้าระวังระดับบุคคลและการให้คำปรึกษาในกลุ่มเสี่ยงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 5

ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 2.พัฒนานวัตกรรมการสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพช่องปาก การสนับสนุนและพัฒนา ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 3) การจัดบริการเพื่อการส่งเสริมและป้องกันอย่างต่อเนื่องทั้งรูปแบบในสถานบริการและบริการเชิงรุกในชุมชน 4) การเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามผลการให้บริการ/การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 5) มีระบบการส่งต่อเพื่อรับบริการในรายที่จำเป็น 6

ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 2.พัฒนานวัตกรรมการสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพช่องปาก การสนับสนุนและพัฒนา ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 2.3 จัดการความรู้เพื่อสังเคราะห์บทเรียนการทำงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากเชิงรุกในชุมชนในพื้นที่ที่มีผลงานเด่น 25 พื้นที่ 2.4 ประชุมนำเสนอผลงานเด่นและนวัตกรรมการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพช่องปากตามนโยบายกองทุนทันตกรรม 7

ระบบบริการสุขภาพช่องปาก การสนับสนุนและพัฒนา 3. สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรที่ส่วนกลางดำเนินการ ระบบบริการสุขภาพช่องปาก หลักสูตรอบรมทันตแพทย์ในสสจ. หลักสูตรอบรมทันตแพทย์ CUP หลักสูตรอบรมทันตาภิบาลในรพ.สต. หลักสูตรอบรมทันตาภิบาลในสสจ. การประชุมวิชาการทันตาภิบาล 4 ภาค ฯลฯ ระบุประเด็นหลักสูตรที่พื้นที่ต้องการ 8

ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 4. สนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูล ทันตสาธารณสุข การสนับสนุนและพัฒนา ระบบบริการสุขภาพช่องปาก พัฒนาจังหวัดนำร่องในการจัดการข้อมูลสุขภาพ ช่องปากระดับตำบลและพัฒนาการวางแผนจากข้อมูลเชิงประจักษ์ที่เชื่อมโยงกับระบบงบประมาณ กองทุนทันตกรรม 4+10 จังหวัด (16) 9

ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 5.จัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพช่องปากระดับชาติ การสนับสนุนและพัฒนา ระบบบริการสุขภาพช่องปาก โครงการจัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพช่องปากพ.ศ.2555-2559 10

ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 1. สนับสนุนระบบการบริหารจัดการ เขตและจังหวัด การสนับสนุนและพัฒนา ระบบบริการสุขภาพช่องปาก การพัฒนาระบบข้อมูลระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล จัดตั้งงานติดตามกำกับประเมินผลปฏิบัติงานตามนโยบายกองทุน การนิเทศสนับสนุนวิชาการระดับเขต (นิเทศไขว้จังหวัด) อำเภอ ตำบล พัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในเรื่อง ??? 3

ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 1. สนับสนุนระบบการบริหารจัดการ เขตและจังหวัด การสนับสนุนและพัฒนา ระบบบริการสุขภาพช่องปาก จัดประชุมติดตามผลการดำเนินการ 6 ครั้งต่อไป ประเมินผลประเด็นสุขภาพช่องปากที่สำคัญ จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับเขต/จังหวัด ฯลฯ 3