การเคลื่อนไหวของกล้อง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1. ประกอบโครงสร้างหุ่นยนต์. (ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง)
Advertisements

สตอรี่บอร์ด (Story board)
คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>
การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
ลิมิตซ้ายและลิมิตขวา
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
การสัมภาษณ์ อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
ประโยคใจความสำคัญ ประโยคที่ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดในย่อหน้านั้น
ยินดีต้อนรับสู่ Visual Art Online
รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์เป็นเรื่องเกี่ยวกับ “กิจการสาธารณะ (Public Affairs)” และพื้นฐานของรัฐประศาสนศาสตร์ก็คืองานบริหารงานภาครัฐใดๆ ที่ต้องคำนึงถึง.
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
การตบ (Spike) การตบ (Spike) เป็นทักษะที่สร้างความตื่นเต้นเร้าใจในการแข่งขัน เป็นทักษะที่จูงใจให้เด็กๆ อยากเล่นวอลเลย์บอลมากที่สุด สำหรับเนื้อหาในตอนนี้เป็นภาพรวมในด้านต่างๆ.
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การใช้บริการกูเกิล (Google) 1 การใช้บริการ Gmail 2 การใช้บริการ รูปภาพ บนเว็บ Google 3 การใช้บริการ Google Earth.
โครงสร้าง ภาษา HTML.
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
ลักษณะพิเศษของ ภายใต้คำสั่ง <BODY>
ช่วงความชัดลึกของภาพ ภาพจะมีช่วงความชัดลึกมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเหตุผล 3 ประการ คือ.
Image Processing & Computer Vision
วิชากีฬา 3 (พ.013 บาสเกตบอล )
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
ทีมงานผลิตรายการโทรทัศน์ The Television Team
ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
ลักษณะเวทีและการจัดที่นั่งผู้ชมในโรงละคร
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer นางสาวฐิติภา จีนหลง.
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การเชื่อมเหตุการณ์ เวลา สถานที่ (Transition)
ศัพท์ทางเทคนิคกับการถ่ายทำและควบคุมกล้อง
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
การจัดองค์ประกอบภาพ.
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
กระต่ายเนเธอร์แลนด์ ดวอร์ฟ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
Background / Story Board / Character
บทที่ 3 การกำหนดรูปแบบตัวอักษร
การตั้งค่า Mouse จัดทำโดย นายนรินทร์ เรือนคำ เลขที่ 13
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหว
ขนาดภาพ.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
การถ่ายวีดีโอ.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ความรู้พื้นฐานของระยะภาพ
BSRU Animation STUDIOS
กล้องโทรทรรศน์.
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
ครูสุนิสา เมืองมาน้อย
ปัจจัยสำคัญของภาพยนตร์
บทที่8 การเขียน Storyboard.
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
เทคนิคการปรับกล้อง.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
เทคนิคการเปลี่ยนภาพ โดยใช้อุปกรณ์ตัดต่อ วีดีทัศน์.
หน้า 1/8. หน้า 2/8 พลังงาน หมายถึง ความสามารถ ในการทำงาน ชึ่งถ้าหากพลังงานมาก ก็จะมี กำลังมาก การคิดถึงเรื่องเหล่านี้ เราจะเห็น ความสัมพันธ์ ที่เรียกว่า.
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
บทที่ 7 การเขียนบทรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการ ประชาสัมพันธ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเคลื่อนไหวของกล้อง

Crane shot

Dolly Shot

การดอลลี่ (Dolly) เป็นการเคลื่อนกล้องเข้าใกล้วัตถุมากขึ้น (Dolly in) หรือ เคลื่อนกล้อง ออกห่างจากวัตถุ (Dolly out) คล้ายกับการซูม ต่างกันตรงที่ว่าการดอลลี่จะแสดงให้ เห็นมุมของภาพที่เปลี่ยนไปพร้อมกับขนาดของภาพก็เปลี่ยนไปด้วย ภาพที่ดี ต่อเนื่องกันเหมือนกับ คนดูก้าวเข้าไปหาตัวแสดงแบบที่สายตาจ้องจับอยู่ที่ตัวแสดง

Zoom การซูม (Zooming) เป็นการเปลี่ยนแปลงของภาพอย่างต่อเนื่องจากขนาดเล็กไป หาขนาดใหญ่ (Zoom in) หรือจากขนาดใหญ่ไปหาขนาดเล็ก (Zoom out) ขณะที่กล้องอยู่กับที่ การซูมควรทำอย่างมีวัตถุประสงค์เท่านั้น เช่น เมื่อเปิดเรื่องหรือเพื่อเน้นวัตถุบางอย่าง หรือภาพรวม ทำให้ผู้ดูมีความรู้สึกว่ากำลังเคลื่อนที่ไปพบกับวัตถุเพื่อดูรายละเอียดให้ชัดเจนยิ่งขึ้น

การเคลื่อนกล้องในระดับแนวดิ่ง (A tilt shot ) การทิลต์ (Tilting) เป็นการเคลื่อนไหวกล้องทางแนวดิ่ง โดยการลดกล้องลง เรียกว่า Tilt down หรือเงยกล้องขึ้นเรียกว่า Tilt up จะได้ภาพต่อเนื่องกันใช้เมื่อถ่ายที่มีความ ต่อเนื่องในแนวดิ่งหรือถ่ายครอบคลุมความสูงของวัตถุที่มีขนาดใหญ่เกินกว่าที่กล้องจะบันทึกภาพไว้ได้ทั้งหมด เช่น หอคอย โบสถ์ เจดีย์ ตึกสูง เป็นต้น

การแพนกล้อง (Pan Shot) การแพน (Panning) เป็นการวาดกล้องไปทางซ้ายหรือขวาตามแนวนอน โดยวัตถุ อาจอยู่นิ่งหรือกวาดกล้องตามวัตถุที่เคลื่อนที่ไป การแพนควรใช้อย่างมีจุดมุ่งหมาย จากจุดเริ่มแพน และจุดสุดท้ายที่กล้องหยุดนิ่งควรให้อยู่ในลักษณะภาพที่พอดี เมื่อถ่ายตามวัตถุที่เคลื่อนที่ เรียกว่า Follow Shot ผู้ดูจะติดตามการเคลื่อนที่ของวัตถุ ฉากหลังจะเคลื่อนไหวตัวอย่างเช่น จับภาพ Subject เคลื่อนที่ผ่านฝูงชน เป็นต้น

การถ่ายภาพติดตามตัวละคร (Tracking Shot) การแทร์ค (Tracking) คือการเคลื่อนที่กล้องไปตามแนวขนาดกับวัตถุทางซ้าย (Tracking left) หรือเคลื่อนไปทางขวา (Tracking right) มักใช้เมื่อต้องการติดตามการเคลื่อนที่ของ วัตถุหรือให้ผู้ดูมีความรู้สึกร่วมรับรู้ในการเคลื่อนที่ด้วย