การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Smira Chittaladakorn
Advertisements

ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
ประเด็นทางจริยธรรมสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร์ (Ethical Issues in Quantitative Methodology in Social Research ) ธีรเดช ฉายอรุณ หลักสูตรประชากรศึกษา.
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การวิจัย RESEARCH.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Management Information Systems
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง
การจัดกระทำข้อมูล.
การออกแบบการวิจัย.
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การสุ่มตัวอย่าง (Sampling)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
เอกสารแนบท้าย 3 CONCEPT PAPER เรื่อง ชื่อนิสิต สาขา/แขนง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา หมายเหตุ นำเสนอ 10 นาทีให้ใช้ไม่เกิน 10 สไลด์เท่านั้น.
วิจัย (Research) คือ อะไร
การเขียนรายงานการวิจัย
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
Uncertainty of Measurement
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
กระบวนการวิจัย Process of Research
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
คำอธิบายรายวิชา.
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
บทที่ 8 การวิจัยเชิงพรรณนา : การสำรวจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การออกแบบการวิจัย.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
บทที่ 2 การวิจัยผู้บริโภค
CLASSROOM ACTION RESEARCH
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี.
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และการเลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการ โลจิสติกส์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีระ ครึกครื้นจิตร คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หัวข้อการบรรยาย การสุ่มตัวอย่าง ความสำคัญของการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่าง การหาขนาดตัวอย่าง

เลือกแบบการสุ่มตัวอย่างได้ ( Sample plan) หาขนาดตัวอย่างได้ ( Sample size)

การออกแบบวิจัย ( Research Design) ประชากรและการเลือกตัวอย่าง ( Sampling Technique) การสร้างเครื่องมือวัดในการวิจัย ( Instrument) การเก็บรวบรวมข้อมูล ( Data Collection) การเตรียมข้อมูล( Data Preperation) สถิติเชิงพรรณา ( Descriptive Sta.) การวิเคราะห์ข้อมูล ( Data Analysis) สถิติเชิงอนุมาน (Inferrential Sta.) สถิติวิเคราะห์( Analytical Sta.) การแปลผล( Interpretation) การรายงานผลการวิจัย ( Research Report)

การสุ่มตัวอย่างในงานวิจัย - Sampling Techniques - Sampling Theory แบบตัวอย่าง ( Sample Design) แบบการสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Plan ) ขนาดตัวอย่าง ( Sample Size) วิธีใดดี ? n ? พอ? ตัวแทนที่ดี? ไม่เลือกเพราะ N น้อย? กำหนด%เลือก? N มีน้อยเอาหมด? คำนวณ n แล้วบวกเพิ่ม?

การสุ่มตัวอย่าง เลือกส่วนหนึ่งจากประชากรที่จะทำวิจัย กลุ่มที่ถูกเลือกเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร กลุ่มตัวอย่างถูกวัด นับ วิจัย ผลสรุปเป็นคำตอบของประชากร

ประชากร ( Population , Universe ) เซตของหน่วยตัวอย่างในขอบเขตที่ศึกษา ตัวอย่างสุ่ม ( random sample ) ตัวอย่าง ( sample ) ส่วนหนึ่งของประชากร เลือกมาโดยใช้หลักความน่าจะเป็น

ตัวอย่างที่ดี ( good sample ) 1. เป็นตัวแทนที่ดี ไม่ลำเอียงในการเลือก 2. มีขนาดพอเหมาะ ใหญ่ไป - สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย เวลา เล็กไป - สรุปไม่ได้

กรอบตัวอย่าง ( sampling frame) กรอบรายชื่อ ( list frame ) - ไม่ซ้ำ - ไม่ขาด - ไม่เกิน กรอบแผนที่ ( map frame หรือ area frame)

แบบตัวอย่าง ( sample Design ) -sampling procedure - select process แบบการสุ่มตัวอย่าง ( sampling Plan) ขนาดตัวอย่าง ( sample size) Prob. Non - prob - SRS -SYS -Stratified -Cluster - Multi-stage - สำรวจ - ทดลอง - คุณภาพ -quota - judement ( perposive) - expert - accidental

แบบการสุ่มตัวอย่าง ( sampling Plan) แบบง่าย ( simple random sampling) แบบมีระบบ ( systermatic sampling) แบบชั้นภูมิ ( stratified sampling) แบบกลุ่ม ( cluster sampling ) แบบหลายขั้นตอน( multi-stage sampling ) อื่นๆ PPS sampling , double sampling , two - phases sampling, inverse sampling

( determination of the sample size การหาขนาดตัวอย่าง ( determination of the sample size ใช้หลักความน่าจะเป็น ( probabilitic) ไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น ( nonprobabilitic) กำหนด CV กำหนดSE กำหนด d หรือ r และ ….. พิจารณาค่าใช้จ่ายเป็นหลัก C= c1 + c1n

งานวิจัยนี้ หาขนาดตัวอย่างเพื่อ ประมาณค่าพารามิเตอร์ ทดสอบสมมุติฐาน

ใช้หลักความน่าจะเป็น ขนาดตัวอย่าง ใช้หลักความน่าจะเป็น แบบการสุ่มตัวอย่าง ประมาณพารามิเตอร์? แบบง่าย แบบมีระบบ แบบชั้นภูมิ แบบกลุ่ม แบบหลายขั้นตอน ยอดรวม ค่าเฉลี่ย สัดส่วน อัตราส่วน

การได้มาซึ่งขนาดตัวอย่าง เลือกสูตรได้ถูกต้อง เลือก r , d ที่เหมาะสม สรุปแบบการวิจัย สถิติที่ใช้ทดสอบ วิธีการเก็บข้อมูล ค่าใช้จ่าย เวลาที่ศึกษา

r d n 0.01 ….. ….. 0.02 ….. ….. . 0.19 ….. ….. 0.20 ….. ….. - เศษปัดขึ้นเสมอ - ไม่ต้องบวกขนาดตัวอย่างเพิ่ม

เลือกตัวอย่าง การศึกษาเชิงคุณภาพ ประชากร เชิงทฤษฎี ประชากร เชิงประจักษ์ กลุ่มบุคคล กลุ่มตัวอย่าง ศึกษาทั้งหมด สุ่มแบบเจาะจง purposive สโนบอลล์ snowball หลายมิติ dimentional หลายแบบผสมกัน

โปรแกรมสำเร็จรูป หาขนาดตัวอย่าง SAM POWER DOS - BASED EPI IMFO EAST2000 WINDOWS