การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีระ ครึกครื้นจิตร คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
หัวข้อการบรรยาย การสุ่มตัวอย่าง ความสำคัญของการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่าง การหาขนาดตัวอย่าง
เลือกแบบการสุ่มตัวอย่างได้ ( Sample plan) หาขนาดตัวอย่างได้ ( Sample size)
การออกแบบวิจัย ( Research Design) ประชากรและการเลือกตัวอย่าง ( Sampling Technique) การสร้างเครื่องมือวัดในการวิจัย ( Instrument) การเก็บรวบรวมข้อมูล ( Data Collection) การเตรียมข้อมูล( Data Preperation) สถิติเชิงพรรณา ( Descriptive Sta.) การวิเคราะห์ข้อมูล ( Data Analysis) สถิติเชิงอนุมาน (Inferrential Sta.) สถิติวิเคราะห์( Analytical Sta.) การแปลผล( Interpretation) การรายงานผลการวิจัย ( Research Report)
การสุ่มตัวอย่างในงานวิจัย - Sampling Techniques - Sampling Theory แบบตัวอย่าง ( Sample Design) แบบการสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Plan ) ขนาดตัวอย่าง ( Sample Size) วิธีใดดี ? n ? พอ? ตัวแทนที่ดี? ไม่เลือกเพราะ N น้อย? กำหนด%เลือก? N มีน้อยเอาหมด? คำนวณ n แล้วบวกเพิ่ม?
การสุ่มตัวอย่าง เลือกส่วนหนึ่งจากประชากรที่จะทำวิจัย กลุ่มที่ถูกเลือกเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร กลุ่มตัวอย่างถูกวัด นับ วิจัย ผลสรุปเป็นคำตอบของประชากร
ประชากร ( Population , Universe ) เซตของหน่วยตัวอย่างในขอบเขตที่ศึกษา ตัวอย่างสุ่ม ( random sample ) ตัวอย่าง ( sample ) ส่วนหนึ่งของประชากร เลือกมาโดยใช้หลักความน่าจะเป็น
ตัวอย่างที่ดี ( good sample ) 1. เป็นตัวแทนที่ดี ไม่ลำเอียงในการเลือก 2. มีขนาดพอเหมาะ ใหญ่ไป - สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย เวลา เล็กไป - สรุปไม่ได้
กรอบตัวอย่าง ( sampling frame) กรอบรายชื่อ ( list frame ) - ไม่ซ้ำ - ไม่ขาด - ไม่เกิน กรอบแผนที่ ( map frame หรือ area frame)
แบบตัวอย่าง ( sample Design ) -sampling procedure - select process แบบการสุ่มตัวอย่าง ( sampling Plan) ขนาดตัวอย่าง ( sample size) Prob. Non - prob - SRS -SYS -Stratified -Cluster - Multi-stage - สำรวจ - ทดลอง - คุณภาพ -quota - judement ( perposive) - expert - accidental
แบบการสุ่มตัวอย่าง ( sampling Plan) แบบง่าย ( simple random sampling) แบบมีระบบ ( systermatic sampling) แบบชั้นภูมิ ( stratified sampling) แบบกลุ่ม ( cluster sampling ) แบบหลายขั้นตอน( multi-stage sampling ) อื่นๆ PPS sampling , double sampling , two - phases sampling, inverse sampling
( determination of the sample size การหาขนาดตัวอย่าง ( determination of the sample size ใช้หลักความน่าจะเป็น ( probabilitic) ไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น ( nonprobabilitic) กำหนด CV กำหนดSE กำหนด d หรือ r และ ….. พิจารณาค่าใช้จ่ายเป็นหลัก C= c1 + c1n
งานวิจัยนี้ หาขนาดตัวอย่างเพื่อ ประมาณค่าพารามิเตอร์ ทดสอบสมมุติฐาน
ใช้หลักความน่าจะเป็น ขนาดตัวอย่าง ใช้หลักความน่าจะเป็น แบบการสุ่มตัวอย่าง ประมาณพารามิเตอร์? แบบง่าย แบบมีระบบ แบบชั้นภูมิ แบบกลุ่ม แบบหลายขั้นตอน ยอดรวม ค่าเฉลี่ย สัดส่วน อัตราส่วน
การได้มาซึ่งขนาดตัวอย่าง เลือกสูตรได้ถูกต้อง เลือก r , d ที่เหมาะสม สรุปแบบการวิจัย สถิติที่ใช้ทดสอบ วิธีการเก็บข้อมูล ค่าใช้จ่าย เวลาที่ศึกษา
r d n 0.01 ….. ….. 0.02 ….. ….. . 0.19 ….. ….. 0.20 ….. ….. - เศษปัดขึ้นเสมอ - ไม่ต้องบวกขนาดตัวอย่างเพิ่ม
เลือกตัวอย่าง การศึกษาเชิงคุณภาพ ประชากร เชิงทฤษฎี ประชากร เชิงประจักษ์ กลุ่มบุคคล กลุ่มตัวอย่าง ศึกษาทั้งหมด สุ่มแบบเจาะจง purposive สโนบอลล์ snowball หลายมิติ dimentional หลายแบบผสมกัน
โปรแกรมสำเร็จรูป หาขนาดตัวอย่าง SAM POWER DOS - BASED EPI IMFO EAST2000 WINDOWS