การประชุมหารือเพื่อผลักดันการดำเนินงาน ตามแผนแม่บทแก้ไขปัญหาการทำลายทรัพยากรป่าไม้ การบุกรุกที่ดินของรัฐ และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน พ.ศ วันอังคารที่ 9 ธันวาคม 2557 เวลา น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 2 อาคารเทียมคมกฤส กรมป่าไม้ สิ่งที่ส่งมาด้วย
2 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ ประเด็นการ ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผล 2558 น้ำหนัก (%) มิติภายนอก75 การประเมิน ประสิทธิผล (65) 1. ยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด 1.1 ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (15) 1.2 ยุทธศาสตร์จังหวัด (50) (65) การประเมิน คุณภาพ (10) 2.ความพึงพอใจของผู้รับบริการ (งานบัตรประชาชนและทะเบียนราษฎร งานจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม งานบริการจัดหางาน งานบริการผู้ป่วยนอก งานการถ่ายทอดความรู้และการให้บริการ ทางการเกษตร และงานขอรับประโยชน์ ทดแทนจากกองทุนประกันสังคม) (10) มิติภายใน25 การประเมิน ประสิทธิภาพ (10) 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ(5) 4.การประหยัดพลังงาน(5) การพัฒนาองค์การ (15) 5. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ(10) 6.ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน (5) รวม100 ตัวชี้วัดการพัฒนาระดับจังหวัด 1.มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) 2.ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) (ชั้น ป.6 ม.3 ม. 6) กรอบการประเมินผลฯ ของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กำหนดตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและยุทธศาสตร์ของ จังหวัดให้สะท้อนบริบทและลักษณะเฉพาะของกลุ่มจังหวัดและ จังหวัด (tailor made) มีความครอบคลุมทั้งมิติด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคมจิตวิทยาและความมั่นคง 2.เพิ่มจำนวนตัวชี้วัดในระดับกลุ่มจังหวัดและจังหวัด เพื่อให้ ครอบคลุมยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด และสะท้อน ตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดที่สำคัญที่ต้องเร่งปรับปรุงให้มากขึ้น ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด จากไม่เกิน 2 ตัวชี้วัด เป็น ไม่เกิน 3 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์จังหวัด จากไม่เกิน 3 ตัวชี้วัด เป็น ไม่เกิน 5 ตัวชี้วัด 3.ตัวชี้วัดของกลุ่มจังหวัด ทุกจังหวัดในกลุ่มควรต้องมีการ ดำเนินการร่วมกัน 4.กำหนดตัวชี้วัดร่วมระหว่างกระทรวงและจังหวัด (Function- Area) เพื่อขับเคลื่อนการบูรณาการการดำเนินงานระหว่าง กระทรวงและจังหวัด และช่วยในการถ่ายทอดเป้าหมายจาก ระดับประเทศ เช่น การสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว เป็นต้น แนวทางการกำหนดตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดและ จังหวัด กรอบการประเมินผลฯ ของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กำหนดตัวชี้วัด “ ระดับความสำเร็จของการเพิ่มจำนวนพื้นที่ ป่าไม้ของประเทศ ” เป็นตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ของกลุ่ม จังหวัดและจังหวัด โดยเฉพาะกลุ่มจังหวัด / จังหวัดทีมี สถานการณ์การบุกรุกลายป่าไม้ในระดับวิกฤติ เพื่อช่วยผลักดัน แผนแม่บทนี้ ซึ่งจะถ่ายทอดเชื่อมโยงกับตัวชี้วัดระดับกระทรวง ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 (เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน) 3 ความยากจน เชียงใหม่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม จิตวิทยาและสิ่งแวดล้อม เกษตร ท่องเที่ยว การค้าอุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อม อื่น ๆ แม่ฮ่องสอน OTOP การค้าชายแดน GAP รายได้จากการจำหน่าย สินค้า OTOP จำนวนแปลง/ฟาร์มที่ได้รับใบรับรองมาตรฐาน GAP ของผลผลิตการเกษตรที่สำคัญต่อจำนวน แปลง/ฟาร์มที่ได้รับการตรวจจากกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ (สับปะรด กระเทียม ถั่วลิสง มะนาว และพืชผัก) มูลค่าการจำหน่าย ผลิตภัณฑ์เซรามิก จำนวนครัวเรือนยากจน ที่มีรายได้เฉลี่ยนต่ำ กว่าเกณฑ์ จปฐ. ลดลง จำนวนแปลง/ฟาร์มที่ได้รับใบรับรองมาตรฐาน GAP ของผลผลิตการเกษตรที่สำคัญต่อจำนวน แปลง/ฟาร์มที่ได้รับการตรวจจากกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ (ลำไย กระเทียม หอมแดง) จำนวนสถานประกอบการที่ผ่าน เกณฑ์ Green Industry มูลค่าการค้าชายแดน อุตสาหกรรม เซรามิก อัตราการการเข้าเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายหรือ เทียบเท่าของประชาการกลุ่ม อายุ การศีกษา พื้นที่ป่าไม้ HA สถานบริการสุขภาพมีคุณภาพ มาตรฐานตามที่กำหนด (HA) ลำปาง อุตสาหกรรม สีเขียว ลำพูน HA พื้นที่ป่าไม้ รายได้ รายได้จากการท่องที่ยว พัฒนาการ ท่องเที่ยว อัตราการการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าของประชาการกลุ่มอายุ ระดับความสำเร็จของการเพิ่ม จำนวนพื้นที่ป่าไม้ของประเทศ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาการ ท่องเที่ยวเพื่อสร้างรายได้ให้ชุมชน ระดับความสำเร็จของการเพิ่ม จำนวนพื้นที่ป่าไม้ของประเทศ 1.Lanna culture and creative tourism* 2.Northern Food Valley * Positioning กลุ่ม KPI กลุ่ม 1.รายได้จากการท่องเที่ยว หมายเหตุ: *รักษาฐานรายได้เดิม **สร้างฐานรายได้ใหม่ 2. มูลค่าผลผลิตทางการเกษตรสำคัญ (ลำไย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กระเทียม ถั่วเหลือง) 3. คุณภาพอากาศ 1. มูลค่าผลผลิตทาง การเกษตรสำคัญ (ข้าวหอมมะลิ) Monitor การศีกษา
4 เกณฑ์การให้คะแนนของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด : ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน จำนวนพื้นที่ป่าไม้ (สำรวจจาก ภาพถ่ายดาวเทียม) (วัด 72 จังหวัด) 8% พื้นที่ป่าไม้เท่า เดิม = พื้นที่ป่า ไม้ ปี 56 พื้นที่ป่าไม้ เพิ่มขึ้น จำนวนพื้นที่ป่าไม้ ที่ยึดคืนได้ (วัด 33 จังหวัด) 12% -30%-20%-10% ค่าเฉลี่ย 3 ปี ปี % ระดับความสำเร็จของการเพิ่มจำนวนพื้นที่ป่าไม้ หมายเหตุ 1)ก.ทรัพยากรธรรมชาติฯ ต้องแจ้งรายละเอียดจำนวนพื้นที่ป่าไม้รายจังหวัด และจำนวนพื้นที่ป่าไม้ที่ต้องการทวงคืนรายจังหวัด 2)ก.ทรัพยากรธรรมชาติฯ ต้องกำหนดรายละเอียดคำอธิบาย “พื้นที่ป่าไม้ที่ทวงคืนได้” 3)แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการประเมินผล จาก ก.ทรัพยากรธรรมชาติฯ 4)ให้จังหวัดตั้งค่าเป้าหมายของพื้นที่ป่าไม้ที่จะทวงคืนและรายงานให้สำนักงาน ก.พ.ร. ทราบภายในไตรมาสที่ 2 ของปีงบประมาณ พ.ศ ร่าง ร่างตัวชี้วัดของจังหวัด ปี 2558 (ต่อ) Interval กำหนดตามข้อมูลพื้นฐานของแต่ละจังหวัด น้ำหนัก ตชว ลดทอนตาม สัดส่วน สรุปผลการประชุมวันที่ 9 ธ.ค. 2557
5 ประเด็นหารือ 1.แนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อ สนับสนุนการดำเนินงานของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด 2.หากจะกำหนดตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของการเพิ่มจำนวนพื้นที่ป่าไม้” เป็นตัวชี้วัดของจังหวัด จะมีการถ่ายทอดเป้าหมายจำนวนพื้นที่ป่าไม้รายจังหวัด และจำนวนพื้นที่ป่าไม้ที่ทวงคืนได้ รายจังหวัด อย่างไร มีข้อมูล Baseline (ย้อนหลัง 3 ปี) เกี่ยวกับจำนวนพื้นที่ป่าไม้รายจังหวัด และจำนวนพื้นที่ ป่าไม้ที่ทวงคืนได้รายจังหวัด หรือไม่ จะใช้แหล่งข้อมูลในการประเมินผลจังหวัดจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ ได้หรือไม่ ประการใด การรายงานผลการดำเนินงานจะสามารถดำเนินการและรายงานผลได้ภายในเดือนธันวาคม 2558 หรือไม่ ประการใด ประเด็นหารือ