หลักการเขียนโปรแกรม ( )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
Advertisements

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
User Defined Simple Data Type
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 5 การทำงานแบบวนซ้ำ
CE 112 บทที่ 5 การทำซ้ำในภาษา C
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
Arrays.
SCC : Suthida Chaichomchuen
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
WHILE..DO คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ โดยที่ต้องตรวจสอบเงื่อนไขก่อนที่จะทำ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
บทที่ 2 ประเภทข้อมูล (DATA TYPE)
บทที่ 7 การกำหนดชนิดข้อมูลใหม่
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
ไวยากรณ์ของภาษาการทำโปรแกรม (1) (Syntax of programming languages)
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
Chapter 5 คำสั่งควบคุมการทำซ้ำ
Chapter 7 Iteration Statement
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
การทำซ้ำด้วยคำสั่ง while
คำสั่ง while และ do…while
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
อะเรย์ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
Flow Chart INT1103 Computer Programming
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
การเขียนผังงานแบบทำซ้ำ
Week 2 Variables.
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
วิธีการเขียนโปรแกรมเพื่อทำงานกับข้อมูล โดยที่ ข้อมูลนั้นจะต้อง 1. เป็นประเภทเดียวกัน | ตัวเลข, ตัวอักษร 2. มีขนาดเท่ากัน ? ARRAY คืออะไร.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) [แผนกคอมพิวเตอร์] หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) 7 บทที่ การใช้ตัวแปรแบบแนวลำดับ

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) 1. ตัวแปรชนิด Array Array (อ่านว่า อะเรย์) หรือแถวลำดับ เป็นประเภทข้อมูลแบบโครงสร้าง ประกอบด้วยเซตของสมาชิกเซตหนึ่ง โดยที่แต่ละสมาชิกต้องเป็นข้อมูลประเภทเดียวกัน เช่นตัวอย่าง เซตของวัน ในหนึ่งสัปดาห์ , เซตของกลุ่มสี เซต หมายถึง การเขียนอธิบายถึงกลุ่มของข้อมูลที่ถูกจัดไว้เป็นระบบ เช่น day = set of (Mon,Tue,Wed, Thu,Fri,Sat,Sun); colors = set of(Red,Green,Blue); หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) 2. ตัวแปรชนิด Array โครงสร้างการประกาศตัวแปรชนิด Array ทำได้ดังนี้ รูปแบบคำสั่ง ชื่อตัวแปร : Array[จุดเริ่มต้น...จุดสิ้นสุด] of ชนิดของตัวแปร; ตัวอย่างที่ 1 num : Array[1..20] of Byte; จากตัวอย่างที่ 1 การประกาศตัวแปรอะเรย์ มีจุดเริ่มต้นคือ 1 จุดสิ้นสุดคือ 20 เป็นการสร้าง ตัวแปรชนิด Byte จำนวน 20 ตัว โดยมีชื่อของแต่ละตัวเป็น num[1] ไปจนถึง num[20] ดังต่อไปนี้ num[1],num[2],num[3],num[4],num[5],num[6],num[7],num[8],num[9],num[10], num[11],num[12],num[13],num[14],num[15],num[16],num[17],num[18],num[19], num[20] เป็นตัวแปรชนิด Byte หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

2. วิธีการใช้ตัวแปร Array หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) 3. การวนซ้ำแบบ For…do เป็นคำสั่งวนซ้ำ หรือลูป (Loop) ทำงานตามคำสั่งจนกว่าจะครบจำนวนที่กำหนดไว้ มี 2 รูปแบบ รูปแบบคำสั่ง For ตัวแปร :=จุดเริ่มต้น to จุดสิ้นสุด do หรือ For ตัวแปร :=จุดเริ่มต้น Downto จุดสิ้นสุด do หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

4. ตารางรหัสแอสกี (Ascii) รหัสแอสกีเป็นรหัสของสัญลักษณ์และตัวอักษรบนคอมพิวเตอร์มีทั้งหมด 256 ตัวอักษร นอกจากตัวอักษรทั่วไป ยังมีตัวอักขระที่เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เป็นสัญลักษณ์แทนสิ่งต่าง ๆ ในคำสั่งภาษาปาสคาล ที่เขียนว่า chr( ) เป็นฟังก์ชันที่ให้ใส่ตัวเลขเข้าไป จะแสดงตัวอักษรแอสกีบนจอภาพ # # #String คือ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษรแอสกี หลายตัวมาเรียงกัน หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) 5. การวนซ้ำแบบ While..do เป็นคำสั่งวนซ้ำ ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะทำการวนซ้ำ ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จจะหยุดการทำงาน รูปแบบคำสั่ง While เงื่อนไขเป็นจริง do Begin คำสั่งที่ 1 ; : คำสั่งที่ n ; End; หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

การใช้ตัวแปรแบบแถวลำดับ 7 จบการนำเสนอ บทที่ การใช้ตัวแปรแบบแถวลำดับ หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)