งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อะเรย์ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อะเรย์ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อะเรย์ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม

2 อะเรย์ อะเรย์ (Array) คือ กลุ่มของค่า หรือข้อมูลที่เป็นชนิดเดียวกันซึ่ง ถูกจัดเก็บไว้ภายใต้ชื่อชื่อเดียว อะเรย์ ประกอบด้วย 2 สิ่งที่สำคัญ คือ สมาชิก (element) หมายถึง ข้อมูลแต่ละค่า อินเด็กซ์ (index) หมายถึง ค่าที่ ใช้ระบุตำแหน่ง

3 อะเรย์ อาทิ ตย์ จันท ร์ อังค าร พุธ พฤหั ส ศุกร์เสาร์ ข้อมู ล 0 1 2 3 4 5 6 อิน เด็กซ์

4 การสร้างอะเรย์ การสร้าง numeric array มีอยู่ 2 วิธี วิธีแรกคือการใช้คำสั่ง array ดังตัวอย่าง <?php $weekdays = array(“ อาทิตย์ ”,“ จันทร์ ”, “ อังคาร ”, “ พุธ ”, “ พฤหัส ”, “ ศุกร์ ”, “ เสาร์ ”) ; ?>

5 การสร้างอะเรย์ การสร้าง numeric array วิธีที่สอง โดย ใช้วิธีทยอยกำหนดค่าให้แก่ตัวแปรอะเรย์ ดังตัวอย่าง <?php $weekdays[0] = “ อาทิตย์ ”; $weekdays[1] = “ จันทร์ ”; $weekdays[2] = “ อังคาร ”; ?>

6 การสร้างอะเรย์ บางครั้งเราไม่จำเป็นต้องระบุตัวเลขก็ได้ โดย PHP จะกำหนดสมาชิกตัวแรกเป็น 0 และเพิ่มค่าคีย์ทีละ 1 สำหรับสมาชิก ตัวถัดๆไปโดยอัตโนมัติ <?php $weekdays[] = “ อาทิตย์ ”; $weekdays[] = “ จันทร์ ”; $weekdays[] = “ อังคาร ”; ?>

7 การสร้างอะเรย์ การสร้างอะเรย์โดยใช้ index ที่ไม่เป็น ตัวเลข (associative array) <?php $weekdays[‘sun’] = “ อาทิตย์ ”; $weekdays[‘mon’] = “ จันทร์ ”; $weekdays[‘tue’] = “ อังคาร ”; ?>

8 อะเรย์ อาทิ ตย์ จันท ร์ อังค าร พุธ พฤหั ส ศุกร์เสาร์ ข้อมู ล sun mon tue wed thu fri sat อิน เด็กซ์

9 การเข้าถึงสมาชิก ของอะเรย์ เมื่อต้องการเข้าถึงสมาชิกของอะเรย์ ให้ พิมพ์ชื่อตัวแปร อะเรย์ ตามด้วยวงเล็บ ก้ามปู โดยระบุอินเด็กซ์ไว้ในวงเว็บ <?php printf(“$weekdays[0]”); ?> ผลที่ได้คือ อาทิตย์

10 การเข้าถึงสมาชิก ของอะเรย์ เมื่อต้องการเข้าถึงสมาชิกของอะเรย์ ให้ พิมพ์ชื่อตัวแปร อะเรย์ ตามด้วยวงเล็บ ก้ามปู โดยระบุอินเด็กซ์ไว้ในวงเว็บ <?php printf(“$weekdays[‘mon’]”); ?> ผลที่ได้คือ จันทร์

11 การวนลูปแสดง สมาชิก <?php $student[0] = ‘ ชานนท์ ’; $student[1] = ‘ เทวา ’; $student[2] = ‘ วสุพล ’; // ใช้ฟังก์ชัน count นับจำนวนสมาชิก $n = count($student); for ($i=0;$i<n;$i++) { printf(“$student[$i] ”); } ?>


ดาวน์โหลด ppt อะเรย์ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google