Module 2 คุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุอาหาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
Advertisements

น้ำหนักแสงเงา.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
เรื่อง น้ำหนัก, แสง-เงา โดย สุภา จารุภูมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
รูปเรขาคณิต แบ่งเป็น 2 ประเภท รูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ
ความเค้นสัมผัส (contact stress)
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
หัวข้อบรรยาย วก341 สรีรวิทยาของพืชและสัตว์ (ต่อ)
การวิเคราะห์ความเร็ว
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
สรุปภาพรวมหน่วยคณิตศาสตร์
รูปร่างและรูปทรง.
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 2
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
Engineering Graphics II [WEEK5]
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
เป็นจุดใดๆ ในพิกัดทรงกลม
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
หน่วยที่ 12 การประยุกต์อินทิกรัลหลายชั้น
ระบบอนุภาค.
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
(Applications of Derivatives)
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
เศษส่วน.
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
5.4 ปัญหา ปัจจัยและอุปสรรคในการศึกษา
เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
พื้นที่ผิว และปริมาตร
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เรื่อง จัดทำโดย กราฟ นายเทวา หาระโคตร ปวช.2 กลุ่ม.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ขอนำเสนอ แผนภูมิกราฟ.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปของการการจัดสวน
Spherical Trigonometry
ปริมาตรกรวย ปริมาตรกรวย = ของทรงกระบอก ปริมาตรกรวย =  สูง.
ความชันและสมการเส้นตรง
Module 1 บทนำ วัตถุประสงค์
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
ทรงกลม.
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ปฏิบัติการเรื่องการแช่แข็ง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Module 2 คุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุอาหาร วัตถุประสงค์ 1. เข้าใจความสำคัญของคุณสมบัติทางกายภาพต่อการออกแบบเครื่องจักร 2. สามารถกำหนดขนาดและรูปร่างของวัสดุอาหารได้ 3. สามารถคำนวณหาค่า ความกลม ความเป็นทรงกลม ปริมาตร พื้นที่ผิว ความถ่วงจำเพาะ

รูปร่างและขนาด (Shape and Size) การระบุรูปร่างจำเป็นต้องวัดตัวแปรมิติบางตัว Mohsenin(1978) “การวัดตามแนวแกนตั้งฉากกันที่สัมพันธ์กันหลาย ๆ แกนเพียงพอ ”Griffith and Smith (1964) “สร้างความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของก้อนกรวดกลุ่มหนึ่ง กับมิติตามแนวแกน พบว่าระยะตามแนวแกนที่ตั้งฉากกันสามระยะมีปริมาณ 93%ของ การเปลี่ยนแปลงของปริมาตร และ96% เป็นผลจากค่าที่วัดได้ในแกนใหญ่และแกนเล็ก”

เกณฑ์อธิบายขนาดและรูปร่าง (Criteria for Describing Shape and Size) มาตรฐานแผนภาพ (Charted Standards) ใช้ภาพตัดขวางตามยาวและตามขวางของวัสดุต่าง ๆเปรียบเทียบกับรูปร่างวัตถุที่ต้องการ รูปร่าง คำบรรยาย กลม (Round) เข้าใกล้วัตถุกลม (Spheriod) เรียวที่ขั้วหรือที่ปลาย แป้น (Oblate) เส้นผ่าศูนย์กลางในแนวดิ่งยาวกว่าเส้นผ่าศูนย์กลางในแนวระดับ อ็อบลอง (Oblong) กรวย (Conic) เล็กเรียวลงไปหาปลาย (Tapered Toward Apex) รูปรังไข่ (Ovate) รูปร่างเหมือนไข่และขยายออกที่ปลายขั้ว (Stem End) เป้ หรือ เย้ หรือ เห (Oblique) แกนเชื่อมขั้วและปลายเอียงทำมุม (Slanted)

ความกลม (Roundness) การวัดความกลมของมุมต่างๆ ของวัสดุแข็ง Curray “ความมนเป็นอัตราส่วนระหว่างพื้นที่ภาพฉายที่ใหญ่ที่สุดของวัสดุที่วางไว้ตามธรรมชาติกับ พื้นที่วงกลมที่เล็กที่สุดที่ล้อมรอบวัตถุนั้นได้” Ap = พื้นที่ภาพฉายที่ใหญ่ที่สุด (Projected Area) ของวัสดุที่วางไว้ตามธรรมชาติ Ac = พื้นที่วงกลมที่เล็กที่สุดที่ล้อมรอบวัตถุนั้นได้ r = รัศมีความโค้ง R = รัศมีของวงกลมที่ฝังอยู่ในวัตถุ N = จำนวนมุมทั้งหมด ความกลม = Ap/Ac หรือ ความกลม = Σr/(NR)

ความเป็นทรงกลม (Sphericity) Mohsenin “ความกลมเป็นอัตรส่วนระหว่างเส้นผ่าศูนย์กลางที่มีปริมาตรเท่ากับวัตถุกับเส้นผ่าศูนย์กลาง ของวงกลมที่เล็กที่สุด ที่ล้อมรอบวัตถุเอาไว้ได้” de = เส้นผ่าศูนย์กลางของทรงกลมที่มีปริมาตรเท่ากับวัตถุ dc = เส้นผ่าศูนย์กลางของวงกลมเล็กที่สุดที่ล้อมรอบวัตถุเอาไว้ได้ ปกติ คือ เส้นผ่าศูนย์กลางที่ ยาวที่สุดของวัตถุ ความเป็นทรงกลม= de/dc

พื้นที่ผิว (Surface Area) พื้นที่ผิวของผัก ผลไม้ หรือวัสดุอาหารต่างๆเป็นข้อมูลสำคัญของวิศวกรที่เกี่ยวข้องกับการขนถ่ายหรือ กระบวนการผลิตรวมทั้งพื้นที่ผิวของใบพืชบ่งบอกถึงความสามารถในการสังเคราะห์แสง และอัตรา การเจริญเติบโตของพืช และใช้ศึกษาถึงการถ่ายเทความร้อนในกระบวนการให้ความร้อน

พื้นที่ผิวผลไม้ วิธีการหาพื้นที่ผิวผลไม้มีหลายวิธี เช่น 1. การปอกผิวผลไม้เป็นชิ้นแคบๆ และวางลงบนแผ่นใส วาดรูปเปลือกโดยเขียนตามขอบ เปลือก และใช้เครื่องวัดพื้นที่วัดหาพื้นที่ผิว - การประมาณการพื้นที่ผิวจากน้ำหนักผลไม้ มีการค้นพบความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง ระหว่างน้ำหนักกับพื้นที่ผิวที่วัดได้ 2. การปอกเปลือกผลไม้แล้ววางลงบนกระดาษกราฟ ทำการนำช่องของการวาดกราฟ

พื้นที่ผิวไข่ วางไข่บนเครื่องฉายแผ่นใส เพื่อให้ได้ภาพฉาย (Projected Picture) ของไข่ การวิเคราะห์ภาพฉายอาจใช้วิธี - วิธีการอินทีเกรดด้วยตัวเลข (Numerical Integration) วิธีการพิจารณาไข่คล้ายคลึงกับรูปทรงกลมแบบโพรเลท เมื่อกำหนดให้ a = 1/2 ของแกนยาวของวงรี b = 1/2 ของแกนสั้นของวงรี e = [1- ( b/a ) 2 ]1/2 r = 2¶b2 + ( 2¶b / e ) sin -1 e

พื้นที่ผิวไข่ ( ต่อ ) วิธีการวัดโดยตรง (ใช้ Masking tape ตัดเป็นชิ้นเล็กๆ ปิดรอบผิวไข่) วิธีการประมาณจากน้ำหนักไข่ด้วยความสัมพันธ์คณิตศาสตร์ เมื่อกำหนดให้ S = พื้นที่ผิวไข่ K = ค่าคงที่ตั้งแต่ 4.66 ถึง 5.07 W = น้ำหนักของไข่ S = KW0.66

ความคล้ายคลึงกับเทหวัตถุทรงเรขาคณิต - ทรงกลมโพรเลท (Prolate Spheroid) เช่น ผลชมพู่ม่าเหมี่ยว มะนาวฝรั่ง - ทรงกลมแป้น (Oblate Spheroid) เช่น ลูกจันทร์ ลูกพลับ - กรวยกลมตรง หรือ ทรงกระบอก เช่น แครอท แตงกว่า

ปริมาตรและความถ่วงจำเพาะ ปริมาตร เป็นคุณสมบัติทางกายภาพที่สำคัญ ในการออกแบบไซโล และถังเก็บรักษาสามารถ หาได้จากการแทนที่น้ำในความถ่วงจำเพาะ กรณีที่วัตถุอาหารมีรูปร่างไม่เป็นทรงเรขาคณิต ปริมาตร £in3 = น้ำหนักของน้ำที่ถูกแทนที่ c/b ความหนาแน่นของน้ำ c/b/in3 ความถ่วงจำเพาะ = น้ำหนักวัตถุในอากาศ * ความถ่วงจำเพาะของน้ำ น้ำหนักน้ำที่ดูดแทนที่